Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม13 ขั้นตอน, ด.ญ.จรรยาภรณ์ เพ็งแจ้ง เลขที่22 ม…
กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม13 ขั้นตอน
1.ระบุความต้องการ(Recognition of need and definition of problem)
เมื่อทราบความต้องการแล้วจะสามารถระบุความต้องการและระบุปัญหาได้ เช่นต้องการจะกวาดขยะทุกชอกทุกมุมแต่ไม้กวาดที่ใช้ไม่สามารถกวาดขยะได้ทุกชอกทุกมุม
2.ระบุคุณลักษณะที่ต้องการ(specification)
เป็นความต้องการแก้ปัญหาเบื้องต้นว่า ลักษณะที่ต้องการนำไปใช้นั้นเป็นลักษณะแบบใดซึ่งขั้นตอนนี้สามารถเปลี่ยนแปลงได้อีกหลายครั้งหลังจากขั้นตอนออกแบบสร้างขั้นตอนเช่นเมื่อต้องการจะกวาดขยะทุกชอกทุกมุมทำความสะอาดพื้นได้ทุกชอกทุกมุมบนพื้นผิวทุกชนิดแม้กระทั่งพื้นเปียกน้ำ
3.รวบรวมข้อมูล(gathering of information)
เป็นการหาข้อมูลที่เกี่ยวกับการใช้งานรูปแบบรายละเอียดที่มีความเกี่ยวข้องกับปัญหาเพื่อหาวิธีทำความสะอาดตามชอกมุมว่าจะทำอย่างไรเช่นการใช้งานแรงเพื่อส่งผลให้ขยะที่อยู่ในชอกมุมต่างเคลื่อนที่ออกจากมุมนั้นๆจากกฏเคลื่อนที่ของนิวตันได้แก่เขี่ย เป่า ดุดการหาคำตอบนี้วิศวกรหาจากคนอื่นได้จดสิทธิบัตรไว้หรือเอาของที่คล้ายกันมาเกะออกเพื่อศึกษาหลักการทำงานของเทคโนโลยีโดยเรียกว่า Reverse Engineering
10.ประเมินผล(Evaiuation
หลังจากได้ทดสอบทุกอย่างและจดบันทึกแล้วจึงนำผลที่ได้จากการทดสอบเครื่องต้นแบบมาทำการประเมินเทียบกับสมรรถนะและคุณลักษณะที่ต้องการนำไปแก้ปัยหา
4.ศึกกษาความเป็นไปได้(Feasibility Study)
เป็นการนำข้อมูลที่ได้มาวิเคาะห์เพื่อนำไปใช้แก้ปัญหาเพื่อตอบโจทย์การแก้ปัญหาได้ตรงตามความต้องการมากที่สุดเช่นกรณีการทำความสะอาดพื้นทุกชอกทุกมุมจะตัดเรื่องการเขี่ยออกไปเพราะทำอแบ้วพื้นไม่สะอาดตัดเรื่งการเป่าเพราะหากเป่าจะทำให้ฝุ่นฟุ้งกระจายออกมาจึงสรุปได้ว่ากาะทำความสะอาดโดยการดุดมีความเป็นไปได้มากกว่าวิธีอื่น (Techncal Feasibility)
5.สังเคราะห์หาหลักการสร้างสรรค์(Creative Design Synthesis)
เป็นการหาหลักการ(concept)หรือแนวทางแก้ปัญหากรณีเป็นเครื่องดูดฝุ่นเราจะสร้างแรงดูดลมได้อย่างไรตัวกรองฝุ่นจะต้องมีความละเอียดเท่าไรสามารถที่จะทำให้มีน้ำหนักเบาได้อย่างไรในระหว่างการทำงาน
6.ออกแบบสร้างขั้นตอน(preliminary Desing)
วิศวกรนำเอาหลักการมาออกแบบรูปร่างโดยมีเงื่อนไขจากการสังเคราะห์เสร็จแล้วและทำการสร้างชิ้นส่วนต้นแบบขึ้รมาเพือนำไปใชในขั้นตอนทีทำได้หลายรอบแม้จะสร้งจนเสร็จแล้วว
7.จำลองสภาพสถานการณ์(simulation)
เป็นการนำต้นแบบมาจำลองการใช้จริงเช่นแรงดูดของเครื่องเพียงพอต่อการดูดขยะหรือไม่ถุงขยะเมื่อดูดขยะเข้ามาในเครื่องจะทำให้เกิดการสะสมดุด
8.ออกแบบละเอียด(Detailed Design)
วิศวกรจะทำการออกแบบอย่างละเอียดทุกระบบเพื่อให้เกิดกระบวนการทำงานของวัตกรรมได้อย่างมีปนะสิมธิภาพโดยทุกส่วนจะต้องมีการทำงานที่สัมพันธ์กัน
9.สร้างและทดสอบเครื่องต้นแบบ(Prototype build and test)
เป็นขั้นตอนที่รวมข้อมูลทั้งหมดและทำการสร้างจริงให้ครบถ้วนแล้วนำมาใช้จริงเช่นการสร้างเป็นรูปร่างเครื่องดูดฝุ่นที่สมบูรณ์
11.ประชุมสรุปผล(Design Conciusion)
เป็นขั้นตอนที่สำคัญมากเพราะเป็รการตัดสินใจว่าเป็นการตัดสินใจว่าเป็นวัตกรรม
12.ออกแบบการผลิต(design for production)
เป็นขั้นตอนที่สำคัญมากเพราะเป็นการตัดสินใจว่าเป็นวัตกรรมที่นำไปใช้ได้หรือไม่
13.จำหน่ายผลิตภัณฑ์(product release)
เป็นหน้าที่ของฝ่ายขายที่จะต้องนำสินค้าไปให้ถึงผู้ซื้อและจะต้องมีข้อมูลของวัตกรรมครบถ้วนเพื่อตอบลูกค้าหรือจุดประส่งค์ของวัตกรรมชิ้นนั้นๆ
ด.ญ.จรรยาภรณ์ เพ็งแจ้ง เลขที่22 ม.2/5