Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Additional drug use in Psychiatry - Coggle Diagram
Additional drug use in Psychiatry
Antipsychotic drug
FGAs
ยับยั้งการทำงานของ Dopamine D2 receptor เป็นไปตาม dopamine pathway
Mesolimbic pathway (positive symptoms) ex. delusion, hallucination
Mesocortical pathway (negative symptoms) ex. diminished emotional expression, avolition, alogia, anhedonia, asociality and cognitive
Nigrostriatal pathway (extrapyramidal side effect : EPS)
Tuberoinfundibular pathway : prolactin หลั่งมาก เกิด galactorrhea and gynecomastia
Receptor อื่นๆ
Histamine H1 : ทำให้ง่วงซึม เจริญอาหาร นน.เพิ่ม
a1-adrenergic : ลล.ขยาย เกิด orthostatic hypotension ได้
Muscarinic M1 : เกิด anticholinergic effects น้ำลายน้อย ตาพร่า ท้องผูก ปัสสาวะลำบาก
ชนิดของยา
Phenothiazine
Chlorpromazine, Thioridamazine, Perphenazine, Trifluoperazine
Thioxanthene
Zulcopentixol, Flupentixol
Butyrophenone
Haloperidol
Diphenylbutylpiperidine
Pimozide
S/E ที่พบบ่อย
Extrapyramidal syndrome (EPS)
Acute dystonia
S/S : muscle spasm, torticollis, กล้ามเนื้อใบหน้ากระตุก, ขากรรไกรแข็ง, น้ำลายไหล, ลิ้นคับปาก, พูด
I : รายที่ไม่รุนแรงให้หยุดยา รายที่รุนแรงดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
Akathisia
S/S : เกิด 2-3 w.แรกหลังใช้ยา กระวนกระวาย กระสับกระส่าย อยู่ไม่นิ่ง ผุดลุกผุดนั่ง มือแขนสั่น อาการคล้าย agitation
I : ระวังอุบัติเหตุ และการรบกวนผู้อื่น ดูแลเรื่องการรับประทานอาหาร
Parkinsonism
S/S : พบใน 4 w.แรก อาการคล้ายโรค Parkinson เช่น Akinesia, เดินขาลาก, Tremor, Ragidity, Mask face, กลืนน้ำลายไม่ลง น้ำลายเต็มปาก
I : อธิบายให้ pt. ทราบว่าอาการเหล่านี้จะหายไปเมื่อได้รับยาแก้แพ้ เพื่อลดความวิตกกังวล
Tardive dyskinesia
S/S : เคลื่อนไหวซ้ำๆของกล้ามเนื้อหน้า ลิ้น ลำคอ pt. can’t control เช่น ดูดปาก แลบลิ้น เลียริมฝีปาก แสยะใบหน้า กลืนลำบาก
I : หากพบอาการ ดูแลให้อาหารที่มีแคลสูง อาหารอ่อน ให้ pt.พักผ่อนให้เพียงพอ ฝึกพูดช้าๆ ให้ pt. พูดถึงความรู้สึกของตัวเอง
Neuroleptic malignant syndrome (NMS)
S/S : กล้ามเนื้อเกร็ง ใจเต้นเร็ว เหงื่ออกมาก ไข้สูง ปัสสาวะออกน้อย BPไม่สม่ำเสมอ rest failได้
I : เมื่อพบอาการให้รีบรายงานแพทย์
Anticholinergic side effect
ปากแห้ง
I : ให้อมน้ำแข็งหรือจิบน้ำบ่อยๆ
ตาพร่า
I : ให้ pt. เลี่ยงการขับรถ ระวังพลัดตกหกล้ม
ปัสสาวะลำบาก
I : record I/O เพื่อดูความสมดุลของน้ำที่ได้รับและออก
ท้องผูก
I : แนะนำให้รับประทานอาหารที่มีกากใยสูง เช่น ผัก ผลไม้ ดื่มน้ำเยอะๆ หากไม่มีข้อห้ามให้ออกกำลังกาย
Adrenergic
BP สูง-ต่ำเมื่อเปลี่ยนอิริยาบถ ทำให้มีอาการวิงเวียนศีรษะและหน้ามืด
I : แนะนำให้ลุกช้าๆ วัด BP ท่านอนและท่ายืนเพื่อเปรียบเทียบกัน
Endocrine
ผู้หญิงมีการเพิ่มของ prolactin น้ำนมและปจด.ผิดปกติ ผู้ชายอาจมีเต้านมโต อสุจิหลั่งลดลง หิวบ่อย กินจุ นน.เพิ่ม
I : อธิบายให้ pt. ฟังว่าอาการเหล่านี้เกิดชั่วคราวจะกลับมาเป็นปกติในภายหลัง แนะนำเรื่องอาหารและออกกำลังกาย
Skin reaction
ลมพิษ ผิวหนังอักเสบเพราะไวต่อแสงแดด ผิวไหม้ คล้ำ แดง
I : หยุดยาหรือให้ยาแก้แพ้ แนะนำให้ pt. ระวัง ใส่เสื้อแขนยาวหรือกางร่ม ให้ยาทางผิวกันแดดเมื่อจะออกไปข้างนอก
Hepatic
ดีซ่านจากยา chlorpromazine 1-2 เดือนแรกของการใช้ยา
I : สังเกตอาการดีซ่าน เช่น ตัวเหลือง ตาเหลือง
Hematologic
SGAs : ยับยั้ง serotonin receptor subtype เช่น 5-HT2A, 5-HT2C, 5-HT6, 5-HT7