Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรวิทยาการติดเชื้อ - Coggle Diagram
พยาธิสรีรวิทยาการติดเชื้อ
หลักการทั่วไปของโรคติดเชื้อ
Symbiosis
การอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตที่ต่างกันสองชนิด มีคสพ.ซึ่งกันและกัน อาศัยอยู่ในร่างกายมนุษย์ แบ่งตามการดำรงชีวิตได้ 3 แบบ
Mutualism
อยู่ร่วมกันและเอื้อประโยชน์กันทั้งสองฝ่าย
E.Coliในลำไส้ได้รับอาหารจากร่างกาย และช่วยสังเคราะห์วิตามินK
Commensalism
อยู่ร่วมกันโดยที่ได้ประโยชน์แต่ไม่ก่อโทษต่อhost
Parasitism
อยู่ร่วมกันโดยก่อให้เกิดอันตรายหรือรบกวนการทำหน้าที่ของhost
จุลินทรีย์ในระบบทางเดินอาหาร
จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย
Lactobacillus,Bifindobacterium
จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
Clostridium ก่อให้เกิดโรคต่างๆ โรคท้องร่วง โรคมะเร็ง
Bacteroides,Enterococci
ให้ทั้งประโยชน์และโทษ
Normal Flora
(เชื้อประจำถิ่น)
Opportunistic infection
(การติดเชื้อฉวยโอกาส)
ถ้าภูมิต้านทานอ่อนแอ เชื้อไม่ก่อให้เกิดโรคเหล่านี้แต่ก็สามารถทำให้เกิดโรคได้เช่นกัน
เชื้อที่อยู่ในหลายอวัยวะอยู่แล้ว ทำให้ไม่เกิดโรค
การแพร่เชื้อเข้าสู่ร่างกาย
ทางผิวหนัง(skin)
เยื้อหุ้มตา(conjunctiva)
ทางเดินหายใจ(Respiratory tract)
ทางปาก(oral)เข้าสู้กระเพาะ ลำไส้
ทางเพศสัมพันธุ์(sexual contact)
ทางเดินปัสสาวะ(urinary tract)
ทางรก(trans placental route)
การถ่ายเลือด(blood transfusion)
การป้องกันการติดเชื้อเข้าสู่ร่างกาย
การป้องกันทางกายวิภาค
ผิวหนัง เยื่อบุ
การปัสสาวะ
ระบบย่อยอาหาร
เชื้อจุลชีพประจำถิ่น
ภูมิคุ้มกันแบบไม่นำเพาะ
Acute inflammation
(การอักเสบแบบเฉียบพลัน)
Phagocytosis
(กลไกป้องกันตนเองของhostเพื่อกำจัดและย่อยสลายเชื้อโรค)
Natural Killer cell(NK cell)
Complement system
Interferon
ภูมิคุ้มกันแบบจำเพาะ
(การสร้างAntibody)
Lymphocytes
ระบบน้ำเหลือง
วัคซีน(Vaccine)/ทอกซอยด์(Toxoid)
เซรุ่ม(Serum)
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกัน
พันธุกรรม
อายุ
ปัจจัยทางเมแทโบลิก
สิ่งแวดล้อม
ลักษณะทางกายวิภาค
เชื้อจุลชีพ
ลักษณะทางสรีระ
การตอบสนองของร่างกายจากการติดเชื้อ
โรค(Disease)
เกิดจากการเสียสมดุลของเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
แบ่งปัจจัย 3 กลุ่ม
คน(Host)
ตัวก่อโรค(Agent)
สิ่งแวดล้อม(Environment)
ปัจจัยก่อความรุนแรงของเชื้อโรค
การมีแคพซูล(capsule)
การสร้างสารพิษพวกExtoxin
(สารพิษที่ขับออกมานอกcellของแบคทีเรีย เพื่อทำลายเนื้อเยื่อหรืออวัยวะ)
การสร้างสารพิษพวกEndotoxins
(สารพวกlipopolysaccharides ที่อยู่บนouter membrane ของcellแบคทีเรียยที่ติดสีแกรมลบหลายชนิด)
ระยะของการติดเชื้อ
ระยะมีอาการนำ
(Prodromal Symptoms)
ระยะลุกลาม
(Invasive Period)
ระยะการอักเสบลดลง
(Decline of infection)
ระยะพักฟื้น
(Convalescence)
เริ่มฟื้นตัวค่อยๆหายตามปกติ
อาการทั่วไปจะดีขึ้น
อาการของโรครุนแรงขึ้น
เป็นอาการที่พบได้ก่อนมีอาการอย่างเต็มที่
เชื้อจุลชีพที่ก่อให้เกิดพยาธิสภาพร่วมที่สำคัญ
Serous inflammation including epidermal exfoliation
(การอักเสบเป็นน้ำใส) ตุ่มน้ำใส/แผลพุพอง
Catarrhal information
(การอักเสบเป็นมูก) น้ำมูกใส
Suppurative information
(การอักเสบเป็นหนอง) ส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อบักเตรี
หนองฝี(abscess)/หนอง(pus)
Hemorrhagic inflammation
การอักเสบที่มีการทำลายหลอดเลือด(vascular damage)
Membranous inflammation
(การอักเสบเป็นแผ่นนเยื่อปกคลุมผิว)
Pseudo membranous inflammation
Gangrenous inflammation
เกิดการเน่าตายของเนื้อเยื่อและอวัยวะ
Granulomatous inflammation
เป็นพยาธิสภาพจากกล้องจุลทรรศน์
1 more item...