Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการและเทคนิคปฏิบัติเกี่ยวกับ การควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ, IMG_2171,…
หลักการและเทคนิคปฏิบัติเกี่ยวกับ
การควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
การปฏิบัติการป้องกันแบบมาตรฐาน
(Standard Precautions)
ทำความสะอาดมืออย่างถูกต้อง
สวมอุปกรณ์ป้องกันร่างกายให้เหมาะสม
ป้องกันอุบัติเหตุจากของแหลมคมและฟุ้งกระจาย
จัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัย
การดูแลสุขอนามัยของตนเอง
-ออกกำลังกาย
-มีสติในการทำงาน
-รักษาความสะอาดของร่างกาย
-ตรวจร่างกายประจำปี
เทคนิคการทำให้ปราศจากเชื้อ
การล้างเชื้อ (disinfection) คือขบวนการที่ทำให้จุลินทรีย์ที่ทำให้
เกิดโรคส่วนมากถูกทำลาย ส่วนจุลินทรีย์ที่มีสปอร์มักจะไม่ถูกทำลาย
การทำให้ไร้เชื้อ (sterilization) คือ ขบวนการที่จุลินทรีย์ทุกชนิด
รวมทั้งจุลินทรีย์ที่มีสปอร์ด้วยจะถูกทำลาย
วิธีการที่ทำให้วัตถุปราศจากเชื้อ
การใช้ความร้อน
1.1 การใช้ความร้อนแห้ง
1.2 ความร้อนเปียก
1.3 ไอน้ำ
1.4 ไอน้ำและความดัน
การใช้สารเคมี
2.1 ยาล้างเชื้อ (disinfection)
2.2 ยาระงับเชื้อ (antiseptic)
3.การใช้แสงแดด
4.การใช้คลื่นเสียง
การแยกผู้ป่วย
(Isolation precautions)
1.การป้องกันทั่วไป (Standard precautions)
2.มาตรการป้องกันตามวิธีการที่แพร่กระจายเชื้อ (Transmission-based precautions) แบ่งออกเป็น 3 วิธี คือ
2.1 การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคทางอากาศ Airborne precautions
2.2 การปูองกันการแพร่กระจายเชื้อโรคจากละอองฝอย Droplet
precautions
2.3 การปูองกันการแพร่กระจายเชื้อโรคที่ติดต่อได้โดยการสัมผัส Contact precautions
วัณโรค (TB) หรือสงสัยว่าเป็นวัณโรค
หัด (Measles)
อีสุกอีใส (Chickenpox)
โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง (Severe Acute Respiratory Syndrome ; SARS)
วัตถุประสงค์ของการแยกผู้ป่วย
เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรคไปสู่คนอื่น
เพื่อป้องกันกันการติดเชื้อจากผู้ป่วย
เพื่อป้องกันการติดเชื้อเพิ่มในผู้ป่วยวยที่มีภูมิต้านทานต่ำอยู่แล้ว
เพื่อทำลายเชื้อโรคซึ่งเป็นตัวทำให้เกิดโรค
การควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
ตามหลักสากล Universal precautions
การระมัดระวังให้ทุกคนปลอดภัยจากการติดเชื้อ ที่อาจติดต่อทางเลือดและสารน้ำจาก
ร่างกาย (blood and body fluid) ของผู้ป่วยทุกราย โดยถือว่าผู้ป่วยทุกรายมีเชื้อ HIV เชื้อไวรัสตับอักเสบบี
หรือเชื้อที่อยู่ในเลือดตัวอื่นๆอยู่ในร่างกาย
การมีสุขาภิบาลและสุขภาพอนามัยที่ดี (sanitation and hygiene) คือ การจัดสถานที่และสภาพแวดล้อมในการทำงาน ให้มีสุขลักษณะอนามัยที่ดี เรียบร้อย ไม่สกปรกเลอะเทอะ
เครื่องป้องกัน (Protective barriers) คือ การใช้เครื่องป้องกัน ที่เหมาะสม เช่น ถุงมือ เสื้อคลุม หมวก แว่นตา ผ้าคลุมปากและ จมูก เป็นต้น
ลดการเสี่ยงจากการที่ร่างกายและเยื่อบุต่างๆ
ของบุคลากรทางการแพทย์ไม่ไปสัมผัส
กับเลือดหรือน้ำเหลืองต่างๆ โดยตรง
หลีกเลี่ยงการเกิดอุบัติเหตุ (avoid accidents) คือ การวางแนวทางปฏิบัติต่างๆ ให้ชัดเจนและนำไปปฏิบัติโดยเคร่งครัดเพื่อ ลดอุบัติเหตุขณะทำงาน ป้องกันไม่ให้บุคลากรทางการแพทย์ติดเชื้อขณะปฏิบัติงาน
การหยิบจับของปราศจากเชื้อ
1.ต้องล้างมือให้สะอาดทุกครั้งก่อนหยิบจับห่อเครื่องมือ
2.หยิบจากห่อเครื่องมือแต่น้อย
3.เมื่อจะหยิบจับของเหล่านี้ไปใช้ จะต้อง
รักษาของที่หยิบ และของที่เหลือให้ปราศจากเชื้อโดยใช้ Transfer forceps
ประเภทเครื่องมือเครื่องใช้
เครื่องมือเครื่องใช้ที่ต้องปราศจากเชื้อ (Critical items)
เครื่องมือเครื่องใช้ที่ต้องฆ่าเชื้อ
(Semi-critical items)
เครื่องมือเครื่องใช้ธรรมดา
(Non-critical items)
นางสาวลวัณรัตน์ ปอเหย่อ เลขที่82 ชั้นปีที่2 รหัสนักศึกษา 66120301083