Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรวิทยาการติดเชื้อ, นางสาวทิฆัมพร จันทร์ศรี สาขาการแพทย์แผนไทย …
พยาธิสรีรวิทยาการติดเชื้อ
หลักการทั่วไปของโรคติดเชื้อ
โรคติดเชื้อ
เป็นโรคที่เกิดจากการมี เชื้อจุลชีพ
เข้าร่างกายของ โฮสต์
ชนิดของเชื้อที่ก่อโรค
พรีออน 2. ไวรัส3. แบคทีเรีย4. ริกเกตเซีย
มัยโคพลาสมา6. เชื้อรา7. ปรสิต
การแพร่กระจายเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย
ทางเพศสัมพันธุ์
ทางเดินปัสสาวะ
ทางปาก
ทางรก
ทางเดินหายใจ
การถ่ายเลือด
เยื่อหุ้มตา
ทางผิวหนัง
การป้องกันการติดเชื้อเข้าสู่ร่างกาย
ภูมิคุ้มกันที่มีมาแต่กำเนิด
ด่านแรก
การป้องกันทางกายวิภาค
ผิวหนัง เยื่อบุ-เยื่อบุทางเดินหายใจจะมีเซลล์สร้างเมือก (mucous) เชื้อโรคจะ
เกาะติดกับเมือก และถูกโบกพัดด้วย cilia
เชื้อจุลชีพประจำถิ่น-สร้างสารต่อต้านการเจริญเติบโตของ
เชื้อจุลินทรีย์ชนิดอื่น ทำให้เชื้อจุลินทรีย์ที่ก่อโรคชนิดต่าง ๆ ไม่ให้มี
ปริมาณมากจนเกินไป
ระบบย่อยอาหาร-มีกรดเกลือซึ่งเป็นน้ำย่อยที่หลั่งออกมาจากกระเพาะอาหารสามารถทำลายแบคทีเรียต่างๆได้
ด่านสอง
ภูมิคุ้มกันแบบไม่จำเพาะ
Acute Inflammation- ทำหน้าที่จับทำลายเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมทุกชนิดที่ผ่านด่านแรกเ
Phagocytosis - กลไกป้องกันตนเองของ Host เพื่อกำจัด
และย่อยสลายเชื้อโรค
Interferon- ขัดขวางการแบ่งตัวของ
ไวรัส หลั่งออกมาจากเซลล์ที่ติดเชื้อไวรัส
Complement system-ถูกกระตุ้นด้วย
แอนติบอดีที่จับกับแอนติเจนเป็น antigen-antibody complex แล้ว
จึงมีการกระตุ้นโปรตีนในระบบอย่างต่อเนื่อง จนท าให้เสียสมดุลภายในเซลล์เซลล์จึงถูกทำลาย
Natural kill cel -ตรวจพบว่าเซลล์มีความผิดปกติ หรือเป็นสิ่งแปลกปลอม ก็
จะปล่อยเอนไซม์ toxic proteins (cytotoxins) ออกมา
ภูมิคุ้มกันที่รับมาภายหลัง
ด่านสาม
ภูมิคุ้มกันแบบจำเพาะ
ระบบน้ำเหลือง - เป็นอวัยวะที่ส่งเสริมระบบภูมิคุ้มกันแบบจำเพาะ
วัคซีน ทอกซอยด์-สามารถ
กระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายให้สร้าง antibodies ต้านจุลินทรีย์ได
เซรุ่ม - การฉีดเซรุ่มเข้าสู่ร่างกายเพื่อต่อต้านเชื้อโรคหรือพิษนั้นๆ อย่างฉับพลัน
การตอบสนองของร่างกายจากการติดเชื้อ
โรค (DISEASE)
เกิดจากการเสียสมดุลของเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
2.ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับตัวก่อโรค
3.ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม
1.ปัจจัยเกี่ยวข้องกับคน
กลไกการป้องกันเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย
ระบบน้ำเหลือง
เป็นอวัยวะที่ส่งเสริมระบบภูมิคุ้มกัน
แบบจำเพาะ ส่วนประกอบในระบบน้ำเหลือง ได้แก่ น้ำเหลือง (lymph) ท่อน้ำเหลือง (lymph vessel) และอวัยวะน้ำเหลือง (lymphatic organ)
ปัจจัยที่มีส่งผลต่อประสิทธิภาพในการตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกัน
ปัจจัยจากสิ่งแวดล้อม
สาเหตุหลายประการรวมทั้งการขาดสารอาหาร
ลักษณะทางกายวิภาค
แผลไฟไหม้ จะเสี่ยงต่อการติดเชื้อง่าย
ปัจจัยทางเมแทโบลิก
สเตียรอย์มีฤทธิ์ยับยั้งกระบวนการกินสิ่งแปลกปลอมของเม็ดเลือด
ขาว ลดการสร้างแอนติบอดี
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับเชื้อจุลชีพ
ได้รับยาปฏิชีวนะอย่างต่อเนื่อง
เชื้อจุลชีพก่อโรคจะทวีจ านวนขึ้นก่อให้เกิดโรคได้
อายุ
เด็กเล็กและผู้สูงอายุมีการตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกันด้อยกว่าคนหนุ่มสาว
ลักษณะทางสรีระ
การไหลของน้ำปัสสาวะเชื้อจุลชีพจะเข้าสู่ร่างกาย
ได้ง่ายขึ้น
ปัจจัยทางพันธุกรรม
ปัจจัยที่มีผลต่อความรุนแรงของโรค
ความรุนแรงของเอ็นซัยม์ที่เชื้อโรคผลิตขึ้น
ความสามารถของเชื้อโรคที่สร้างสารที่จะจับกับเซลล์ของร่างกายมนุษย์เ
จำนวนของเชื้อโรคที่ได้รับเข้าไป
สารพิษที่เชื้อโรคสร้างขึ้นซึ่งมีผลต่อร่างกายมนุษย์
ความต้านทานของผู้ป่วย
นางสาวทิฆัมพร จันทร์ศรี
สาขาการแพทย์แผนไทย
66201304018