Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Fluid and Hemodynamic Disorders, ส่วน anasarca คือ …
Fluid and Hemodynamic Disorders
การกระจายของน้ำในร่างกาย
(Distribution of total body fluid)
น้ำในร่างกาย ประมาณ 60% ของน้ำหนักตัว
ในเซลล์ (IFC) 40%
นอกเซลล์ (ECF) 20%
น้ำในหลอดเลือด (Plasma)
น้ำในเนื้อเยื่อระหว่างเซลล์ (Interstitial fluid)
การควบคุมสมดุลน้ำ
ร่างกายมีกลไกควบคุมน้ำและส่วนประกอบให้สมดุล โดยกลไกการทำงานซับซ้อน ความผิดปกติ 2กลุ่ม
1.ความผิดปกติในส่วนประกอบและปริมาณของสารน้ำและหรือความผิดปกติในปริมาตรของเลือดในระบบไหลเวียน
2.ความผิดปกติเกี่ยวกับการไหลเวียน
Thrombosis
Embolism
Edema
การควบคุมสมดุลน้ำ
Hydrostatic pressure
แรงดันภายในหลอดเลือดที่ดันน้ำออกสู่เนื้อเยื่อ
Osmotic pressure คือ แรงที่ดึงดูดน้ำไว้ภายในหลอดเลือด ขึ้นอยู่กับปริมาณโปรตีในเลือด
สาเหตุการบวม
Hydrostatic ในหลอดเลือดเพิ่มขึ้น
ในหลอดเลือดมีแรงดันสารน้ำออกสู่เนื้อเยื่อมากขึ้น พบในภาวะที่มีการคั่งของเลือด
Plasma oncotic pressure ในหลอดเลือดลดลง
พบในภาวะที่มีโปรตีน
Salt and water retention
พบในภาวะการทำงานของไตผิดปกติ มีการลดลงของการกรองโซเดียม การคั่งของโซเดียมในท่อไต
การสูญเสีย vascular permeability
พบในกระบวนการอักเสบ จาการหลั่ง mediators
Lymphatic obstruction
ทำให้การดูดกลับน้ำส่วนเกินทางท่อน้ำเหลืองเสีย ส่วนมากการบวมจากสาเหตุนี้เป็นการบวมเฉพาะที่
ความสำคัญของ Edema
Mechanical effect
Prone to infection เนื่องจำกสำรน้ำนั้นมี
อาหารที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของเชื้อโรค
Fibrosis สารน้ำที่มีโปรตีนสูงมักจะกระตุ้นให้เกิด
การอักเสบ และเกิด fibrosis ตามมา
Hyperemia and
congestion
Hyperemia
การที่มีเลือดมาค้างในหลอดเลือดแดงมากกว่าปกติมาจากการขยายตัวของหลอดเลือดแดง ทำให้เลือดไหลเข้าบริเวณนั้นมากขึ้นและมีการคั่งค้างของเม็ดเลือดแดงปริมาณมาก
เกิดการที่มีการอักเสบ ทำให้ปริมาณเลือดเพิ่มขึ้นและ เกิดความร้อน บวมแดง
เกิดจากระบบประสาทซิมพาเทติกหรือมีการหลั่งสารที่มีผลต่อหลอดเลือดหรือมีการหลั่งสารที่มีผลต่อหลอดเลือดทำให้หลอดเลือดแดงขยายตัว
เป็นการที่มีเลือดดำมาคั่งค้างในหลอดเลือดมาจากการที่มีการขวางการไหลเวียนกลับของเลือดดำทำให้ไม่สามารถไหลผ่านได้ปกติ เลือดที่ค้างจะเป็นเลือดที่ออกซิเจนน้อยทำให้ มองเห็นเป็นสีเขียวคล้ำ
Hemorrhage
ภาวะที่มีเลือดออก มากจากการฉีกขาดของผนังหลอดเลือด
พยาธิสภาพและผลกระทบ
จำนวนเลือดที่เสียไป
ความเร็วที่เสียเลือด
ตำแหน่งที่เลือดออก
ลักษณะทางพยาธิวิทยาของ hemorrhage พบเม็ดเลือดแดงจำนวนมากกระจายตามเนื้อเยื่อ ในภาวะเลือดออกจะพบการแตกสลายของเม็ดเลือดแดง มี hemosiderin laden macrophage มาเก็บกิน
Shock
ภาวะที่ร่างกายได้รับเลือดไปเลียงไม่เพียงพอ/เสียเลือดมาก มำให้เลือดในระบบไหลเวียนลดลง ทำให้ร่างกายขาดออกซิเจน
ชนิดของ shock
Hypovolemic
Cardiogenic
Neurogenic
Septic
Anaphylactic
ระยะของ shock
Non-progressive phase
ร่างการจะปรับตัวเพื่อแก้ไขในภาวะที่เปลี่ยนแปลงทาง hemodynamic โดยกลไก neurohumoral mechanism ให้เลือดที่ออกจากหัวใจและความดันคงที่
Progressive phase
เมื่อเกิดภาวะช็อก เนื้อเยื่อต่างๆเริ่มขาดออกซิเจน
Irreversible phase
เป็นระยะที่ไม่สามารถแก้ไขได้ เกิดความเสียหายของเนื้อเยื่อและอวัยวะ ไม่สามารถทำหน้าที่ได้ปกติ
Thrombosis
Hemostasis and thrombosis
Hemostasis
เป็นกระบวนการ ควบคุมเมื่อเกิดจากการเสียเลือดจากหลอดเลือด เมื่อมีการฉีกขาด จะมีขบวนการห้ามเลือด เพื่ออุดตันรอยฉีกขาด
thrombosis
คือมก้อนเลือดในหลอดเลือดหัวใจขณะยังมีชีวิต เกาะติดผนังหลอดเลือด/ผนังหัวใจ ทำให้เกิดการอุดตันการไหลเวียนเลือดได้
ชนิดของก้อน thrombosis
white thrombus
มักเกิดในบริเวณที่มี
การไหลเวียนของเลือด ที่มีอัตราการไหลเวียนเร็ว
red thrombus
มักเกิดในหลอดเลือดดำ
ที่มีอัตราการไหลเวียนของเลือดที่ช้ากว่า
สาเหตุการเกิด thrombus
การบาดเจ็บของผนังหลอดเลือด
การเปลี่ยนแปลงของการไหลเวียนของเลือด
เลือดแข็งตัวง่าย
ผลการเกิด thrombus
Infection
Edema and obstruction of venous outflow
Emboli
Inflammation of the vessel wall
Embolism
ภาวะสิ่งหลุดอุดตันเลือด คือสิ่งใดสิ่งหนึ่งไม่ไหลตามกระแสเลือด ไปอุดตันส่วนปลาย เรียกว่า embolus
ประเภทของ Embolism
Thromboembolism : ภาวะเส้นเลือดอุดตันจากลิ่มเลือด
Air emboli หรือ Gas emboli : ภาวะเส้นเลือดอุดตันจาก
ฟองอากาศ
Bone marrow embolism : ภาวะเส้นเลือดอุดตันจากไขกระดูก
Fat embolism : ภาวะเส้นเลือดอุดตันจากไขมัน
Cholesterol embolism : ภาวะเส้นเลือดอุดตันจากคอเลสเตอรอล
Tumor embolism : ภาวะเส้นเลือดอุดตันจากมะเร็ง
Foreign body embolism : ภาวะเส้นเลือดอุดตันจากวัสดุแปลกปลอม
Amniotic fluid embolism : ภาวะเส้นเลือดอุดตันจากน้ำคร่ำ
Septic embolism : ภาวะเส้นเลือดอุดตันจากสิ่งติดเชื้อ
ส่วน anasarca คือ การบวมน้ำทั่วร่างกายโดยเฉพาะในเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง
สภาวะปกติ การควบคุมสมดุลสารน้ำอาศัยแรงที่สำคัญตามกฎของสตาร์ลิง
ภาวะบวมน้ำ คือภาวะที่มีน้ำขังอยู่ใน interstitial tissue และในช่องต่างๆของร่างกาย
เกิดจากความบกพร่องของระบบประสาทอัตโนมัติ
เกิดจากการติดเชื้อ
เกิดจากปฏิกิริยาภูมิแพ้ที่รุนแรง
เกิดจากการเสียเลือด
เกิดจากการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจบกพร่อง