Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Chronic Obstructive Pulmonary Disease (COPD) - Coggle Diagram
Chronic Obstructive Pulmonary Disease
(COPD)
เป็นโรคที่มีการอุดกั้นทางเดินหายใจที่ไม่สามารถทำให้กลับคืนมาเป็น ปกติได้ ซึ่งเป็นผลจากการระคายเคืองเรื้อรังต่อปอด จากฝุ่นและก๊าซพิษ ที่สำคัญที่สุดได้แก่ ควันบุหรี่ ทำให้เกิดการอักเสบ และมีผลต่อปอดและระบบอื้นๆของร่างกาย โดบทั่วไปมักหมายรวมถึงโรค 2 โรค คือโรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง และ โรคถุงลมโป่งพอง
ปัจจัยเสี่ยง
1.จากตัวบุคคล
กรรมพันธุ์ : การขาด alpha-1-antiprotease
กลุ่มที่มีน้ำหนักแรกเกิดน้อย จะมีผลให้ FEV1 ลดลง
มีประวัติ Respiration infection ในช่วงอายุก่อนขวบปีแรก
Pulmonary function ที่ลดลงหลังเกิด pneumonia หรือ lower respiratory tract infection ในวัยผู้ใหญ่
Increased bronchial reactivity
อายุที่มากขึ้น
2.จากสิ่งแวดล้อม
ฝุ่น ควัน บุหรี่ มลพิษ สารเคมีในบ้าน
พยาธิสภาพ
1.การอักเสบเรื้อรัง หลอดลมตีบแคบ เกิดการอุดกั้นของลมหายใจออก ทำให้เกิด : แรงต้านในหลอดเลือดมาก , แรงหยุ่นตัวกลับของเนื้อปอดลดลงทำให้แรงดันในหลอดลมขณะสิ้นสุดการหายใจออกกลายเป็นบวก, ลมค้างในปอดมากกว่าปกติ
2.มีความผิดปกติในสัดส่วนการระบายอากาศต่อการไหลเวียนเลือดไปปอด (Ventilation/ perfusion : V/Q abnormality) ทำให้เกิด : ภาวะพร่องออกซิเจนในเลือดแดง , ภาวะคาร์บอนไดออกไซด์คั่งในเลือดแดง
3.ความซึมซ่านของก๊าซผ่านถุงลมผิดปกติ
4.งานที่ต้องทำเพื่อการหายใจเข้าเพิ่มขึ้น สภาพ (Work of breathing) จากระบบการหายใจล้มแบบเรื้อรัง (Chronic Respiratory Failure) เกิดภาวะ hypoxia
เรื้อรัง ท าให้แรงดันในหลอดเลือดแดง pulmonary ที่ปอดสูงขึ้น หรือเรียกว่า เกอด Corpulmonale ทำให้หัวใจห้องขวาล่างโต และ หัวใจซึกขวาล้ม (Right ventriculay failure)
อาการและอาการแสดงของ COPD
หอบเหนื่อยและไอมีเสมหะเรื้อรัง
อาการหอบเหนื่อย จะไม่หายไป อาจคงเดิมหรือเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆจัดเป็นอาการสำคัญของ Emphysema
ไอมีเสมหะเรื้อรัง เป็ นอาการหลักของ Chronic obstructive
เสียงหายใจออกยาว ฟังได้เสียง rhonchi & crepitation
ทรวงอกโป่งออกด้านหน้าและหลัง (Barrel chest)
การวินิจฉัย
Spirometry เป็นการตรวจวัดปริมาตรของอากาศที่หายใจเข้าและออกจากปอดโดยใช้เครื่องมือที่เรียกว่า Spirometer
การตรวจอื่นๆ ได้แก่ X-ray , Lung volume , Arterial blood gas
การแบ่งประเภทผู้ป่วย
Modified Medical Research Council Dyspnea Score (mMRC)
COPD assessment test (CAT)
Level of airflow limitation
Exacerbation history
หลักการการรักษาผู้ป่วย
1.ป้องกันการดำเนินต่อไปของโรค
2.ลดการอุดกั้นของหลอดลม
3.รักษาและป้องกันโรคแทรกที่จะเกิดขึ้น
4.เพิ่มสมรรถภาพของร่างกาย
การประเมินความรุนแรงตามแนวปฏิบัติบริการสาธารณสุข
Mild : ไม่หอบเหนื่อย ไม่มี exacerbation , FEV1 > 80%
Moderate : มีอาการหอบเหนื่อยเล็กน้อย , มี exacerbation ไม่รุนแรง , FEV1 50-79%
Severe : มีอาการหอบเหนื่อยมากขึ้นจนรบกวนกิจวัตรประจำวัน , มี exacerbation รุนแรงมาก , FEV1 30-49%
Very Severe : มีอาการหอบเพนื่อยตลอดเวลา มี exacerbation รุนแรงมากและบ่อย ,FEV1 < 30% ของค่ามาตรฐาน , FEV1 < 50% ของค่ามาตรฐานร่วมกับมีภาวะหายใจล้มเหลวเรื้อรัง
การดูแลรักษา
1.การรักษาโดยการใช้ยา การใช้ยาขยายหลอดลม และยากลุ่ม glucocorticosteroids
2.การรักษาส่วนที่ไม่ใช้ยา (non-pharmacologic treatment)
เช่น Vaccination , ความรู้เกี่ยวกับโรค การรักษา การมาตรวจตามนัด อาหาร การพักผ่อน และ Pulmonary rehabilitation , Oxygen theraphy