Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วุฒิภาวะ การรับรู้ การเรียนรู้ - Coggle Diagram
วุฒิภาวะ การรับรู้ การเรียนรู้
วุฒิภาวะ
กล่าวว่าวุฒิภาวะคือสถานะหรือคุณลักษณะของบุคคลที่แสดงให้เห็นว่าเขาหรือเธอมีความรู้สึกและพึงประสงค์ที่แสดงให้เห็นถึงความเป็น ผู้ใหญ่ มักควบคุมความรู้สึกและพึงประสงค์ได้ ซึ่งแตกต่างจากช่วงวัยเด็กและวัยรุ่นที่ที่มักมีความไม่เจตจํานงการพัฒนาวุฒิภาวะ การเกิดขึ้นตามระยะเวลาและมีความแตกต่างตามบุคคลแต่ละคน ไม่ ไม่ว่าการเป็นผู้ใหญ่แล้วยังรวมถึงความรับผิดชอบต่อและสิ่งที่เกิดขึ้นรอบตัว การพัฒนาวุฒิภาวะทั้งร่างกายและจิตใจและบุคคลมีบทบาทสําคัญในก้าวสู่สถานะผู้ใหญ่
ประเภท
วุฒิภาวะทางอารมณ์
วุฒิภาวะทางอารมณ์เกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้สึกและอารมณ์ของบุคคล การพัฒนาวุฒิภาวะอารมณ์เริ่มต้นจากการเรียนรู้การควบคุมอารมณ์และสติสําหรับอารมณ์ของตนเอง แต่ละคนจะพัฒนาความสามารถในการจัดการอารมณ์และทําตัวตามสภาพอารมณ์ในช่วงวัยเริ่มต้นวุฒิภาวะทางอารมณ์เชิงบุคคลที่รับผิดชอบต่ออารมณ์และควบคุมอารมณ์เป็นไปได้อย่างมีเหตุผล
วุฒิภาวะทางสังคม
ฒิภาวะทางสังคมเกี่ยวข้องกับความสามารถในการจัดการความสัมพันธ์กับผู้อื่น โดยรวมถึงการพัฒนาทักษะสังคมและเรียนรู้วิธีการปฏิบัติที่เหมาะสมในสังคม วุฒิภาวะทางสังคม สามารถช่วยให้บุคคลสร้างความสามารถในการทํางานร่วมกับผู้อื่น และควบคุมทักษะการ สื่อสารและการแก้ไขข้อขัดแย้งในสังคม.
วุฒิภาวะทางอาชีพ
วุฒิภาวะทางอาชีพเกี่ยวข้องกับความพร้อมที่เข้าสู่ตลาดแรงงานและการเลือกอาชีพที่เหมาะสม การพัฒนาวุฒิภาวะอาชีพเริ่มต้นจากการสร้างเป้าหมายอาชีพและการเลือกแนวทางอาชีพที่ตรงกับความสามารถและความสนใจของตนเอง. วุฒิภาวะทางอาชีพ สามารถช่วยให้บุคคลสร้างแผนอาชีพ, การสร้างเสริมทักษะทางอาชีพ, และการจัดการการเปลี่ยนแปลงในอาชีพ
วุฒิภาวะทางจิตวิทยา
วุฒิภาวะทางจิตวิทยาเกี่ยวข้องกับการพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีเหตุผล, การเรียนรู้จากประสบการณ์, และการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับตนเอง
วุฒิภาวะทางกาย
หมายถึงช่วงที่มีศักยภาพหรือความพร้อมตามธรรมชาติด้านร่างกาย ทั้งการเจริญเติบโตด้านโครงสร้างร่างกาย ระบบประสาทอวัยวะกล้ามเนื้อ ฯลฯ ในการกระทําสิ่ง
วุฒิภาวะทางอารมณ์
หมายถึงความสามารถในการ ยับยั้งชั่งใจ หรือ ควบคุมอารมณ์ , , ของตนเอง และรู้จักใช้เหตุผล ได้อย่างเหมาะสม โดยวุฒิภาวะ ทางอารมณ์นี้ ส่วนมากจะเกิดจากการเรียนรู้และจาก การได้รับการอบรม
ปัจจัยที่มีอิทธิพลตือวุฒิภาวะ
ทางพันธุกรรม เเละชีวภาพ
การเลี้ยงดู เเละครอบครัว
การศึกษาเเละสภาพเเวดล้อมทางการศึกษา
สังคมเเละวัฒนธรรม
ประสบการณืชีวิตเเละการเรียนรู้จากการปฏิบัติ
การเรียนรู้
กระบวนการรับรู้และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้การรับรู้
คือกระบวนการทางสมองที่เป็นการรับข้อมูลจากสิ่งแวดล้อมและแปลงข้อมูล ว่าเป็นประสบการณ์ทางรสกิจ, อายตา, จมูก, หู, และสัมผัสที่เราสามารถเข้าใจ. กระบวนการรับรู้การประมวลผลข้อมูลทางการสัมผัสและความรู้ทางสมองเราใช้เรารับรู้โลกและและสิ่งแวดล้อมของ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้
ลักษณะของสิ่งเร้าหรือเป้าหมาย
อิทธิผลต่อสิ่งเร้า
รูปร่าง
สี
ขนาด
สิ่งรอบๆ
การเคลื่อนไหว
เสียง
ลักษณะของตัวผู้รับรู้
องค์ประกอบทางด้านตัวบุคคล
สภาพร่างกาย
. สภาพจิตใจ
ประสบการณ์และความรู้ (ประสบการณ์และความรู้)
คลิกภาพ (บุคลิกภาพ)
ความสนใจ
ทักษะทางการสื่อสาร
ความตั้งใจ (ความตั้งใจ
สภาพอารมณ์
ลักษณะทางสภาพแวดล้อมหรือสถานการณ์(สถานการณ์)
กระบวนการการรับรู้
เป็นกระบวนการทางสมองที่ให้ความสามารถในการรับรู้และรับรู้ข้อมูลสิ่งแวดล้อม กระบวนการ นี้ประกอบด้วยกระบวนการหลายขั้นตอนหรือความรู้สึกที่ทําให้เราประมวลผลข้อมูลที่เข้ามาอย่างมีระบบ กระบวนการรับรู้มีความสําคัญในการเรียนรู้และการทํางานของสมองที่ดี นอกจากนี้กระบวนการรับรู้ยังเกี่ยวข้องกับเรื่องตื่นตัว, การระบายข้อมูลที่ไม่จําเป็น,การสร้างความเข้าใจ,และการคิดอย่างมีเหตุผล ระบบที่เรารับรู้และเข้าใจโลกรอบตัวมีความซับซ้อนและศึกษาอย่างละเอียด และการแก้ปัญหาในแต่ละกรณีขึ้นอยู่กับบริบทและสถานการณ์ที่เกิดขึ้น
การรับข้อมูล (Perception): กระบวนการนี้เกิดขึ้นเมื่อสิ่งแวดล้อมส่งข้อมูลต่างๆ มาตาผ่านทางอายตา, หู, จมูก,ลิ้น,และตําแหน่งของร่างกาย สมองจะรับรู้ข้อมูลเหล่านี้และรูปแบบต่างๆ เพื่อประมวลผล
การประมวลผลข้อมูล (Information Processing): หลังจากการรับข้อมูล, สมองจะทํางานในการประมวลผล นั่นคือการเรียนรู้และการคิดอย่างมีเหตุผลเกี่ยวกับข้อมูลที่เข้ามา กระบวนการประมวลผลมีหลาย ขั้นตอนเช่นการจดจํา, การตัดสินใจ,การแก้ปัญหา,และอื่นๆ
จดจํา (Memory): สมองสร้างความรู้เกี่ยวกับข้อมูลที่ได้รับ บางข้อมูลจะถูกจดจําและเก็บไว้ในหน่วยความจําสายยาว (long-term memory) สามารถเรียกใช้หลังจากการจดจําข้อมูล
การเรียนรู้ (การเรียนรู้): การรับรู้เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ใหม่จากข้อมูลที่เข้ามา เรียนรู้สามารถเกิดขึ้นผ่านการสังเคราะห์ความรู้ใหม่จากข้อมูลที่เข้ามาหรือผ่านประสบการณ์
การตัดสินใจ (Decision-Making): การรับรู้มี การตัดสินใจในกระบวนการประมวลผล ก่อนที่จะตัดสินใจ, บุคคล จะพิจารณาข้อมูลที่ เข้ามาและ คิดเกี่ยวกับผลที่อาจเกิดขึ้นจากตัวเลือกที่มีอยู่
การแก้ปัญหา (Problem Solving): การรับรู้ช่วยในการแก้ปัญหา ก่อนที่จะแก้ปัญหา, บุคคล รับรู้ปัญหาและพยายามหาทางแก้ไขหรือคิดอย่างมีเหตุผลในการแก้ปัญหา ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้ (Perception)
การเรียนรู้
นักจิตวิทยาหลายท่านให้ความหมายของการเรียนรู้ไว้ เช่น คิมเบิล ( Kimble, ๑๙๖๔) "การเรียนรู้เป็นการเปลี่ยนแปลงค่อนข้างถาวรในพฤติกรรม อันเป็นผลมาจากการฝึกที่ไดเช้รับการเสริมเเรง
ฮิลการ์ด และเบาเวอร์ (Hilgard & Bower, ๑๙๘๑) "การเรียนรู้ เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม อันเป็นผลมาจากประสบการณ์และการฝึก โดยไม่รวมถึงการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมที่เกิดจากการตอบสนองตามสัญชาตญาณ ฤทธิ์ของยาหรือสารเคมี หรือปฏิกิริยาสะท้อนของมนุษย์ตามธรรมชาติ
คอนบาค (Cronbach, ๑๙๗๐ ) " การเรียนรู้ เป็นการแสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมที่มีการเปลี่ยนแปลง anเป็นผลเนื่องมาจากประสบการณ์ที่แต่ละบุคคลประสบมา
พจนานุกรมของเวบสเตอร์ (Webster 's Third New International Dictionary) "การเรียนรู้ คือกระบวนการเพิ่มพูนและปรุงแต่งระบบความรู้ ทักษะ นิสัย หรือ การแสดงออก ต่างๆ อันมีผลจากสิ่งกระตุ้น อินทรีย์โดยผ่านประสบการณ์ การปฏิบัติ หรือการฝึกฝน"
ประดินันท์ อุปรมัย (๒๕๔๐) การเรียนรู้คือการเปลี่ยนแปลงของบุคคลอันอันมีผลเนื่องจากการประสบการณ์ โดยการเปลี่ยนแปลงเป็นเหตุทําให้บุคคลเผชิญสถานการณ์เดิม แตกต่างไปจากเดิมประสบการณ์ที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมหมายถึงทั้งทางตรงประสบการณ์และประสบการณ์ทางอ้อม
องค์ประกอบของการเรียนรู้
สิ่งเร้า
สำหรับสิ่งเร้าที่จะจะมาเร้าในคนเกิดการเรียนรู้นั้นถ้าจะให้สิ่งเรานั้นมีความหมายและให้เกิดการเรียนรู้ที่ดี ก็ควรจะให้สิ่งเร้าได้ผ่านอวัยวะรับสัมผัสของผู้เรียนหลายหลายทางด้วย
อินทรีย์
กระบวนการเรียนรู้จะได้ผลสมบูรณ์เมื่ออินทรีย์อยู่ในสภาพพร้อมที่จะเรียนรู้และรับรู้กล่าวคือจะต้องมีองค์ประกอบพร้อมเพรียงทางด้านการรับรู้การรับฟังการฝึกการเรียนรู้พฤติกรรมที่ค่อนข้างถาวรแรงจูงใจทัศนคติสติปัญญาความรู้ประสบการณ์เดิม
สมาชิก
นางสาวนัทวลี อุทโท เลขที่29B
นางสาวพรณพัส ไชยสุข 36B
นางสาวปกเกศ วงศ์ศรียา 31B
นางสาวนันทภัค ขวาไทย 30B
นางสาวชฏาพร บุญครอง 17B
นางสาวกนกรดา สลางสิงห์ 12A
นางสาวชนิกานต์ ลำพาย 18B
นางสาวกชกร บุตรเเสน 17A
นางสาวจุฑาทิพย์ สอนสมนึก 16B
การตอบสนอง
การเรียนรู้นั้นพิจารณาจากการกระทำหรือการตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่ประสบ ซึ่งตัวแปรที่จะบอกไม่ทราบว่าผู้เรียน จะกระทำกิจกรรมนั้นได้อย่างไรผู้เรียนเกิดการเรียนรู้หรือไม่อย่างไรและรวดเร็วเพียงใดจะตอบสนองออกมาในลักษณะใดการตอบสนองที่เป็นพฤติกรรมนั้นสามารถวัดผลได้และสามารถนำไปเปรียบเทียบกับบุคคลอื่นได้
กระบวนการเรียนรู้
ขั้นของการเสนอสิ่งเร้า
ขั้นของการสัมผัส
ขั้นของการรับรู้
ขั้นของการเกิดความคิดรวบยอด
ขั้นของการแสดงพฤติกรรม
ประเภทของการเรียนรู้
พฤติกรรมทางสมอง หรือ พุทธิพิสัย
เป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้าน ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ความคิด การวิเคระห์ การสังเคราะห์ การประเมิน และนำความรู้ไปใช้ในสถานการ์ณอื่นได้
พฤิกรรมด้านจิตใจ หรือ จิตพิสัย
เป็นการเปลี่ยนทางด้านจิตใจหรืออารมณ์ ได้แก่ การทำให้ผู้เรียนเกิดความพึงพอใจ (like) เกิดรสนิยม (taste) เกิดเจตคติ (attitude) ค่านิยม(value)
พฤติกรรมด้ายทักษะและการใช้อวัยวะต่างๆ หรือทักษะพิสัย
เป็นการเรียนรู้ให้เกิดความชำนาญหรือทักษะในการเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อ
ทฤษฎีการเรียนรู้
การวางเงื่อนไขเบบคลาสสิค
การทดลองโดยสั่นกระดิ่งก่อนที่จะเอาอาหาร (ผงเนื้อ) ให้แก่สนัข เวลา ระหว่างการสั่นกระดิ่งและการให้ผงเนื้อแก่สุนัขต้องเป็นเวลาที่กระชั้นชิดมาก ทําซ้ําควบคู่กันหลายครั้ง และในที่สุดหยุดให้อาหารเพียงแต่สั่นกระดิ่งก็ ก็สนะสุนัขก็ยังคงมีน้ําลายไหลได้ โดยที่ข้างแก้มของสุนัขติดเครื่องมือวัดระดับการไหลของน้ําลาย ปรากฏการเช่นนี้เรียกว่า พฤติกรรมของสุนัขถูกวางเงื่อนไข (Povlov, ๑๙๗๒) หรือที่เรียกว่าสุนัขเกิดการเรียนรู้แบบวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
การวางเงื่อนไขเบบการกระทำเบบปฏิบัติการ
สําหรับการทดลองของสกินเนอร์ เขาสร้างกล่องทดลองขึ้นซึ่งกล่องทดลองซองสกินเนอร์ (Skinner Boxes) จะประกอบด้วยที่ใส่อาหาร คันโยก หลอดไฟ คันโยกและที่ใส่อาหารเชื่อมติดต่อกัน การทดลองเริ่มการจับโดยหนูไปใส่กล่องทดลอง เมื่อหนูหิวจะวิ่งวนวนไปเรื่อยๆ และไปเหยียบถูกโยกคัน ก็จะมีอาหารตกลงมาทําให้หนูการเรียนรู้การเหยียบคันโยกจะได้รับอาหารครั้งต่อไปเมื่อหนูหิวก็จะตรงเหยียบคันโยกทันทีพฤติกรรมดังกล่าวไปไปถือว่าหนูตัวนี้การเรียนรู้แบบการลงมือการลงมือเอง
การเรียนรู้เเบบต่อเนื่อง
การทดลองของธอร์นไดค์ (ณัฐภร อินทุยศ, ๒๕๕๖) ในการทดลอง ธอร์นไดค์ได้น้ําแมวไปขังในกรง ที่สร้างขึ้น แล้วนําปลาไปวางล่อไวนอกกรงให้พอประมาณ โดยให้แมว ไม่สามารถยืนเท้าไปเขียได้ จากการสังเกต พบว่าแมวพยายาม ใช้วิธีการต่าง ๆ เพื่อจะออกกรงออกไป จนกระทั่งของมันไปเหยียบถูกคานไม้โดย บังเอิญ ทําให้ประตูเปิดออก ๆ หลังจาก แมวเท้าก็เปิดเปิดกรงมากขึ้นกฎการเรียนรู้
ปัจจัยที่มีอิทธิผลต่อการเรียนรู้
ตัวผู้เรียน หรือตัวแปรเกี่ยวกับตัวผู้เรียน ได้แก่ วุฒิภาวะ และความพร้อม เพศ ความสามารถแรงจูงใจ อายุ ประสบการณ์ เดิม ความบกพร่องทางร่างกาย และอารมณ์ ซึ่งจัดว่าเป็นส่วนหนึ่งที่มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้
บทเรียน: : ประเภทของการเรียน ความยากง่ายของบทเรียน ความยาวของบทเรียน การมีความหมายของการเรียน และ ตัวรบกวน
ทางเรียน ทาง ทางสอน ได้แก่ ฝึกหัด ฝึกหัด การ ส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้ประสาทรับรู้ ช่วยในการเรียน การใช้ ล่อ การ การ การ ให้คําแนะนํา และ แนะแนว ใน การเรียนการสอน วด เดียว หรือ ทีละ ตอน ท่องจํา การ รู้ ผลงาน ใช้สิ่ง กระตุ้น การ ผู้เรียน การ การ ถ่ายเรียน มีโอกาส โยง ความรู้ และ การตอบสนอง หรือ ปฏิกิริยาตอบสนอง
การถ่ายโยง การเรียนรู้ การที่บุคคลได้เรียนรู้อย่างหนึ่งมาก่อน ซึ่งความรู้เดิมที่ได้เรียนรู้มามีผลต่อการเรียนรู้ใหม่ หรือการกระทํากิจกรรมใหม่ กล่าวคือ อาจมีผลในทางบวก คือ การเรียนรู้เดิม ช่วยทําให้ หรือ ส่งเสริมการเรียนรู้ใหม่ให้ สะดวก รวดเร็ว หรือ การเรียนรู้เดิมส่งผลในทางลบหรือเป็นอุปสรรคขัดขวางการเรียนรู้ใหม่ ทําให้การเรียนรู้ใหม่ขึ้น ล่าช้า ซึ่งลักษณะการถ่ายโยงการเรียนรู้