Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Ventricular Septal Defect (VSD) with Pulmonary Stenosis (PS) - Coggle…
Ventricular Septal Defect (VSD) with Pulmonary Stenosis (PS)
Ventricular Septal Defect (VSD)
พยาธิสรีรภาพ
เกิดเลือดแดงไหลลัดจากหัวใจ LV ไหล
ไปยัง RV ปริมาณเลือดที่ไหลผ่านขึ้นกับขนาดของรูรัวและแรงต้านทานหลอดเลือดในปอด (pulmonaryvascular resistance, PVR)
ทำให้เลือดจาก LV ไหลไปยัง RV และเข้าสู่ปอดมากขึ้น
ปริมาณเลือดที่ไหลลัดไป
ปอดจะมากขึ้นจนเกิด volume overload
เกิดภาวะหัวใจวาย (congestive heart failure)
เลือดที่ไปปอดจะไหลกลับเข้า pulmonary veins (PV) และเข้าสู่ left atrium (LA) และ LV มากขึ้น เกิดvolume overload ท่าให้ pulmonary artery (PA),PV, LA และ LV โตขึ้น
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
1.เนื้อเยื่อได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ
จำกัดกิจกรรม, rest
นอนหัวสูง 30-45
low salt diet (ทั้งอาหาร/ขนม/เครื่องปรุง)
ประเมินการทำงานของหัวใจ
ให้ออกซิเจน support (cannula, mask) ตามแผนการรักษา
2.มีโอกาสเกิดการติดเชื้อที่ปอด
ทำความสะอาดปากฟัน(ทุกมื้อ)
ATB, ยาละลายเสมหะ, ยาขยายหลอดลม, ยาลดไข้
obs.อาการติดเชื้อ, lab., CXR,
3.มีโอกาสเกิดการติดเชื้อที่เยื่อบุหัวใจ
สุขวิทยา, สิ่งแวดล้อม
ATB (เพิ่ม-ก่อนทำฟัน/ก่อนผ่าตัด)
ปากฟัน(ห้ามมีฟันผุ/ตรวจฟันทุก 6 เดือน
ประเมินอาการติดเชื้อ
4.บิดามารดาวิตกกังวลเกี่ยวกับความผิดปกติของหัวใจเด็ก
ให้ข้อมูล ความรู้
ประสานแพทย์ให้ความรู้ด้านการดำเนินของโรคและแผนการรักษา
ให้บิดามารดาอยู่กับเด็ก กอด อุ้ม มีส่วนร่วมในการดูแล
เปิดโอกาสให้บิดา มารดาระบายความรู้สึกและให้กำลังใจ
Pulmonary Stenosis (PS)
พยาธิสรีรภาพ
การตีบของMitral vulve ทำให้หัวใจห้องLAต้องเพิ่มแรงบีบตัวเพื่อให้เลือดไหลผ่านลิ้นที่ตีบเข้าสู่หัวใจห้องLV
ทำให้ความดันในห้องหัวใจLAสูงขึ้น
ส่งผลให้ระยะต่อมาจะมีการเพิ่มขึ้นของความต้านทานในระบบไหลเวียนเลือดที่ปอด
เกิดภาวะความดันหลอดเลือด
ปอดสูง (pulmonary hypertension) และปอดบวมน้ำ(pulmonary congestion) ในระยะยาวจะทำให้เกิดภาวะหัวใจด้านขวาล้มเหลวได้ (right-sided herat failure)
ปริมาณเลือดที่ไหลเข้าจะลดลง ทำให้มีปริมาณเลือดที่ไปเลี้ยงร่างกาย(cardiac output) ลดลง
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ประสิทธิภาพการทำงานหัวใจลดลงจากโรคหัวใจแต่กำเนิด
สังเกตและประเมินการทำงานของหัวใจและปอด โดยการตรวจวัดสัญญาณชีพ นับชีพจรและฟังเสียงการเต้นของหัวใจ
นับการหายใจและฟังเสียงปอด สังเกตลักษณะการหายใจช้าหรือเร็วมีภาวะหายใจลำบาก
ให้เด็กได้พักผ่อนเพื่อลดการทำงานของหัวใจ โดยจัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมและควรปล่อยให้เด็กร้องไห้ หรือออกกำลังกายมาก
จำกัดจำนวนเกลือในอาหาหารเพื่อป้องกันการดั่งสะสมของโชเดียม
จำกัดจำนวนน้ำที่เข้าสู้ร่างกายในหนึ่งวัน
รักษาอุณหภูมิร่างกายให้คงที่ โดยการสวมเสื้อผ้าที่เหมาะสม สังเกตสีผิว ความอบอุ่นของปลายมือ ปลายเท้า
ให้ยาตามแผนการรักษา ให้ยาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น ค่าอิเล็กโทรไลท์