Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ประเภทวัสดุ - Coggle Diagram
ประเภทวัสดุ
วัสดุผสม
1,ผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผา (Pottery) ...
- ผลิตภัณฑ์วัสดุทนไฟ (Refractories) ...
-
- ผลิตภัณฑ์ซีเมนต์ (Cement) ...
- ผลิตภัณฑ์โลหะเคลือบ (Enamel) ...
- ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ขัดหรือตัด (Abrasive) ...
- ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในงานไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic and Electrical Ceramic)
โลหะ
-
คือ กลุ่มของสารที่ได้จากการถลุงสินแร่กลายเป็นเนื้อค่อนข้างบริสุทธิ์ จากนั้นจะถูกนำมาขึ้นรูปและแปรรูปให้เป็นวัสดุที่มีลักษณะทางกายภาพที่แข็ง (ยกเว้นปรอท) มีความหนาแน่น ไม่ยอมให้แสงผ่าน และมีความมันวาว มักจะเป็นตัวนำความร้อนและตัวนำไฟฟ้าได้ดี อีกทั้งยังทนทานต่อการกัดกร่อนและความร้อนได้ จึงมักถูกนำมาใช้ในหลายอุตสาหกรรม เช่น อุตสาหกรรมยานยนต์ การผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องจักรกล การผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และงานก่อสร้าง
นอกจากนี้ยังมีการนำโลหะไปใช้ในงานศิลปะ อุปกรณ์ทำเครื่องประดับ และงานฝีมือต่าง ๆ โลหะที่พบบ่อยที่สุด ได้แก่ เหล็ก อลูมิเนียม สแตนเลส ทองแดง ทองคำ สังกะสี เงิน และดีบุก
เซรามิก
-
- ผลิตภัณฑ์วัสดุทนไฟ (Refractories) ...
-
- ผลิตภัณฑ์ซีเมนต์ (Cement) ...
- ผลิตภัณฑ์โลหะเคลือบ (Enamel) ...
- ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ขัดหรือตัด (Abrasive) ...
สารกึ่งตัวนำ
คือ วัสดุที่มีคุณสมบัติในการนำไฟฟ้าอยู่ระหว่างตัวนำและฉนวน เป็นวัสดุที่ใช้ทำอุปกรณ์อิเล็คทรอนิกส์ มักมีตัวประกอบของ germanium, selenium, silicon วัสดุเนื้อแข็งผลึกพวกหนึ่งที่มีสมบัติเป็นตัวนำ หรือสื่อไฟฟ้าก้ำกึ่งระหว่างโลหะกับอโลหะหรือฉนวน ความเป็นตัวนำไฟฟ้าขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ และสิ่งไม่บริสุทธิ์ที่มีเจือปนอยู่ในวัสดุพวกนี้ ซึ่งอาจเป็นธาตุหรือสารประกอบก็มี เช่น ธาตุเจอร์เมเนียม ซิลิคอน ซีลีเนียม และตะกั่วเทลลูไรด์ เป็นต้น วัสดุกึ่งตัวนำพวกนี้มีความต้านทานไฟฟ้าลดลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ซึ่งเป็นลักษณะตรงข้ามกับโลหะทั้งปวง
ที่อุณหภูมิ ศูนย์ เคลวิน วัสดุพวกนี้จะไม่ยอมให้ไฟฟ้าไหลผ่านเลย เพราะเนื้อวัสดุเป็นผลึกโควาเลนต์ ซึ่งอิเล็กตรอนทั้งหลายจะถูกตรึงอยู่ในพันธะโควาเลนต์หมด (พันธะที่หยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอม) แต่ในอุณหภูมิธรรมดา อิเล็กตรอนบางส่วนมีพลังงาน เนื่องจากความร้อนมากพอที่จะหลุดไปจากพันธะ ทำให้เกิดที่ว่างขึ้น อิเล็กตรอนที่หลุดออกมาเป็นสาเหตุให้สารกึ่งตัวนำ นำไฟฟ้าได้เมื่อมีมีสนามไฟฟ้ามาต่อเข้ากับสารนี้
สารกึ่งตัวนำไม่บริสุทธิ์ เป็นสารที่เกิดขึ้นจากการเติมสารเจือปนลงไปในสารกึ่งตัวนำแท้ เช่น ซิลิกอน หรือเยอรมันเนียม เพื่อให้ได้สารกึ่งตัวนำที่มีสภาพการนำไฟฟ้าที่ดีขึ้น สารกึ่งตัวนำไม่บริสุทธิ์นี้แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ สารกึ่งตัวนำประเภทเอ็น (N-Type) และสารกึ่งตัวนำประเภทพี (P-Type)
-
-
-