Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดทำและการบริหารโครงการสุขภาพ, ลักษณะของแผนสุขภาพตำบลที่สำคัญ,…
การจัดทำและการบริหารโครงการสุขภาพ
การบริหารโครงการ (Project Management)
ปัจจัยการบริหารโครงการ
ผู้รับบริการและบุคคลที่เกี่ยวข้อง
บุคลากรในโครงการ
เวลา
เป้าหมายของโครงการ
ทรัพยากร
งบประมาณ/ค่าใช้จ่าย
กระบวนการและขั้นตอน
การวางแผน (Planning)
การดำเนินการ(Executing)
การตรวจสอบและควบคุม (Monitoring and Controlling)
การปิดโครงการ(Closing)
การเริ่มต้น (Initiating)
เครื่องมือและกลยุทธ์การบริหารโครงการ
แผนภูมิแกนต์(Gantt Chart)
ระเบียบวิธีวิถีวิกฤต (Critical Path Method)
โครงสร้างการจัดแบ่งงาน (Work Breakdown Structure)
ขั้นตอนการเขียนแผนพัฒนาสุขภาพอนามัยของชุมชน
เลือกปัญหาที่สำคัญ (Select important problems)
การกำหนดเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ (Set goal and target)
วัตถุประสงค์เฉพาะ (Specific objectives)
วัตถุประสงค์ทั่วไป (General objective)
1.การสำรวจและการวิเคราะห์สถานการณ์ (Looking and analyzing situation)
ศึกษาอุปสรรคและข้อจำกัด (Review obstacle and limitation)
อุปสรรคที่สามารถแก้ไขได้
อุปสรรคที่สามารถลดน้อยลงได้
อุปสรรคที่ไม่สามารถแก้ไขได้ ข้อจำกัด หรืออุปสรรคต่างๆ
การเขียนโครงการ
เทคนิคการเขียนโครงการ
W3 = When ทำเมื่อไร
W4 = Where ดำเนินโครงการที่ไหน
W2 = Why ทำไปทำไม
W5 = Who ใครเป็นผู้รับผิดชอบโครงการ
W1 = What ทำอะไรบ้าง
W6 = to Whom ใครเป็นผู้ได้รับผลประโยชน์
วัตถุประสงค์
กลุ่มเป้าหมาย
หลักการและเหตุผล
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
วิธีการดำเนินงาน
ชื่อโครงการ
ระยะเวลาดำเนินการ
แผนการปฏิบัติงาน(Action plan)
สถานที่ดำเนินการ
งบประมาณ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
การประเมินผล (Evaluation)
ประเภทของการประเมินโครงการ
การประเมินความพอเพียง (Adequate)
การประเมินผลกระทบหรือผลข้างเคียง(Impact or side effect)
การประเมินความก้าวหน้า (Review progress)
การประเมินประสิทธิภาพ (Efficiency evaluation)
การประเมินความถูกต้องเหมาะสมกับแผนงานหรือโครงการ (Verify relevance)
การประเมินประสิทธิผล (Effectiveness evaluation)
การประเมินความก้าวหน้าหรือกระบวนการ (Formative valuation)
การประเมินผลสรุปรวม (Summative Evaluation)
ขั้นตอนการดำเนินงานตามแผนงานโครงการ
การปฏิบัติ
2.1 ปฏิบัติกิจกรรมที่กำหนดไว้ตามขั้นตอน
2.2 ปฏิบัติตามแผน
2.3 ปฏิบัติงานตามมาตรฐานของวิชาชีพ
การบันทึก
1.การเตรียมการ
1.2 เตรียมชุมชนและกลุ่มเป้าหมาย โดยการชี้แจงเพื่อให้เข้าใจวัตถุประสงค์ในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ขอความร่วมมือในชุมชน ศึกษาความพร้อมของชุมชน ในการด าเนินงานทั้งด้านเวลา ความปลอดภัย วัสดุอุปกรณ์
1.3 เตรียมทรัพยากรและอุปกรณ์ ให้มีความพร้อมในการปฏิบัติงาน บุคลากรที่เกี่ยวข้อง มอบหมายงานให้ เหมาะสมกับคนและลักษณะการทำงาน
1.1 เตรียมพยาบาลชุมชน ด้านความรู้ความสามารถ เพื่อให้ปฏิบัติงานได้เหมาะสมกับกิจการที่วางแผนไว้
สรุปการประเมินผลโครงการ
การประเมินความพอเพียง (Adequate)
การประเมินผลกระทบหรือผลข้างเคียง (Impact or side effect)
การประเมินความถูกต้องเหมาะสมกับแผนงานหรือโครงการ (Verify relevance)
การประเมินผลสรุปรวม (Summative Evaluation)
การประเมินความก้าวหน้า (Review progress)
การประเมินประสิทธิภาพ (Efficiency evaluation)
การประเมินความก้าวหน้าหรือกระบวนการ (Formative valuation)
การประเมินประสิทธิผล (Effectiveness evaluation)
องค์ประกอบของเครือข่าย
มีการเกื้อหนุนพึ่งพากัน (interdependent)
มีปฏิสัมพันธ์กันในเชิงแลกเปลี่ยน (interaction)
มีการเสริมสร้างซึ่งกันและกัน (complementary relationship)
การมีส่วนร่วมของสมาชิกทุกคนในเครือข่าย (stakeholders participation)
มีความสนใจหรือมีผลประโยชน์ร่วมกัน (mutual interests/benefits)
การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน (common vision)
มีการรับรู้และมุมมองที่เหมือนกัน (common perception)
ลักษณะของแผนสุขภาพตำบลที่สำคัญ
ใช้ข้อมูลของตำบลเป็นฐานสำคัญในการทำแผน
ใช้ความต้องการในการแก้ปัญหาของตำบลและนโยบายของประเทศเป็นเป้าหมายของแผน
เป็นปฏิบัติการจัดทำแผนแบบมีส่วนร่วมจากภาคประชาชนและองค์กรอื่นที่เกี่ยวข้อง
ต้องมีระบบสนับสนุนในระดับตำบลในด้าน
2) ผู้นำหรือบุคคล
3) เครื่องมือ
1) งบประมาณ
นายอัชชา ลาสันตุ 651410047-6