Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาป็นฐานเพื่อทบทวนความรู้เรื่องพืช -…
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาป็นฐานเพื่อทบทวนความรู้เรื่องพืช
บทที่1บทนำ
1.1ที่มาและความสำคัญของปัญหา
1.2วัตถุประสงค์ของงานวิจัย
-เพื่อทบทวนความรู้เรื่องพืช เช่น ส่วนประกอบของดอกไม้ ดอกพืช พืชเลี้ยงเดี่ยวพืชเลี้ยงคู่
เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
1.3กรอบแนวคิดของการวิจัย
1.4สมมุติฐานของการวิจัย
1.5ขอบเขตการศึกษา
1.6ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ได้วิธีการสอนเพื่อทบทวนบทเรียนที่เหมาะสม ผู้เรียนมีจิตวิทยาศาสตร์ สามารถแก้ปัญหาได้อย่างมีระบบ
และเกิดการสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตัวเอง
บทที่2ทฤษฎี และ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1.1แนวคิด
1.2ทฤษฎีแนวคิดที่เกี่ยวข้อง
แนวคิดพื้นฐานของการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน
จุดมุ่งหมายของการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน
ลักษณะของปัญหา
การเตรียมตัว
การวางแผน
2.3วิจัยที่เกี่ยวข้อง
Link Title
บทที่ 3 วิธีการดำเนินการ :
3.1ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
3.2เครื่องมือใช้ในการวิจัย
แผนการทบทวนบทเรียนวิทยาศาสตร์
ศึกษาความสอดคล้องสัมพันธ์กันกับองค์ประกอบแต่ละส่วน
ลำดับความคิดรวบยอดที่จัดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ก่อนหลัง
กำหนดผลที่ต้องการ
กำหนดเวลาเรียนให้เหมาะสม
บทที่4ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล
วิเคราะห์เชิงพรรณนา สำหรับบันทึกหลังการจัดกิจกรรม
วิเคราะห์เนื้อหา รวบรวมและแยกแยะข้อมูล รวมทั้งตีความหมาย จากใบงานโครงสร้าง และแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์
บทที่5สรุปผล อภิปราย ผลและข้อเสนอแนะ
5.1สรุปผล
การจัดกิจกรรมนี้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อทบทวนความรู้พืช มีความเหมาะสมกับการทบทวนเรียนวิทยาศาสตร์
อภิปราย
จากผลที่ผู้วิจัยได้จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เพื่อทบทวนความรู้เรื่องพืช พบประเด็นสามารถนำมาอภิปรายได้ดังนี้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนออกมาได้ร้อยละ68 เพราะว่ากระบวนการใช้ปัญหาเป็นฐานเป็นรูปแบบหนึ่งของการจัดการเรียนรู้เชิงรุก เน้นนักเรียเป็นสำคัญและชอบในวิทยาศาสตร์ จนเกิดเป็นความเข้าใจดังผลประเมินใบงาน
ข้อเสนอแนะ
ประสิทธิภาพของการจัดกิจกรรมไม่ได้ขึ้นอย่กับแผนการที่เราจัดกิจกรรม
ควรมีใบแบบฝึกหัดมากมายสำหรับเด็กสมาธิสั้น เนื่องจากใบกิจกรรมที่ทำให้นักเรียนอาจจะมีเนื้อหามากเกินไป
ควรศึกษากระบวนการและเทคนิคการสอนในรูปแบบต่างๆ หรือนวัตกรรมที่เหมาะสมมาใช้เพื่อพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ต่อไป