Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 Nursing care during the Postpartum period - Coggle Diagram
บทที่ 9 Nursing care during
the Postpartum period
การพยาบาลมารดาระยะหลังคลอด
Postpartum period or Puerperium
ระยะเวลาตั้งแต่หลังรกคลอดครบจนถึง
6 สัปดาห์หลังคลอด
Early postpartum period – วันที่ 2 – 7 หลังคลอด
Late postpartum period – สัปดาห์ที่ 2 – 6 สัปดาห์หลังคลอด
Immediate postpartum period – 24 ชม.แรกหลังคลอด
อวัยวะสืบพันธุ์กลับคืนสู่ภาวะปกติเหมือนก่อนตั้งครรภ์
ปรับบทบาทเป็นมารดา
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาหลังคลอด
ระบบสืบพันธุ์
มดลูก(Uterus)
Uterine involution มดลูกเข้าอู่
Autolysis or self digestion
Ischemia
การเปลี่ยนแปลงของมดลูกในระยะหลังคลอด
วัดระดับยอดมดลูก
จาก Simphysis pulbis ถึง ยอดมดลูก
5-6 นิ้ว
ประเมินจากน้ำคาวปลา
การหดรัดตัวเข้าอู่ ( Involution of uterus )
ลดต่ำลงจากสะดือเรื่อยๆ
เยื่อบุมดลูก (Endometrial tissue)
Thrombosis —> Exfoliation เยื่อบุมดลูกหลุดออกเป็นแผ่นๆ
ปากมดลูก (Cervix)
ไม่ผ่านการคลอด จะกลม
ผ่านการคลอดแล้ว จะรี
ช่องคลอดและพื้นเชิงกราน Vagina and Pelvic floor
ช่องคลอด
-สัปดาห์ที่ 3 มีรอยนูน
-สัปดาห์ที่ 6 สมบูรณ์
Hypoestrogenic state —> ช่องคลอดแห้ง —> Dyspareunia
พื้นเชิงกราน กล้ามเนื้อถูกยืดขยายมาก
Kegel‘s exercise
ฝีเย็บ (Perineum)
อาการเจ็บปวดแผลฝีเย็บลดลง ภายใน 1-2 สัปดาห์หลังคลอด
แผลฝีเย็บหายภายใน 2-3 สัปดาห์หลังคลอด
ความไม่สุขสบาย
ชนิดของการตัดฝีเย็บ
ฝีมือการซ่อม
ระยะที่ 2 ของการคลอดนาน
ระยะเวลาที่ฝีเย็บถูกศีรษะทารกกด
น้ำคาวปลา ( Lochia )
Lochia rubra : 3 วันแรกหลังคลอด - แดงสด
Lochia serosa : วันที่ 4-9 หลังคลอด - ชมพูหรือน้ำตาล
Lochia alba : วันที่ 10 – 3 wks.หลังคลอด – ขาว ครีม
Lochia ผิดปกติ
Foul lochia – กลิ่นเหม็น
ระบบต่อมไร้ท่อ
Estrogen, Progesterone, HCG, HPL ลดลง
Prolactin ในกระแสเลือดสูงมากน้อยขึ้นอยู่กับการดูดนมมารดา
FHS และ LH จากPituitary gland จะหลั่งเมื่อ 6-7 สัปดาห์หลังคลอดทำให้มีประจำเดือน
ระบบทางเดินปัสสาวะ
แรงตึงตัวของกระเพาะปัสสาวะลดลง—>ท่อปัสสาวะบาดเจ็บ—>ปัสสาวะลำบาก—>ต้องปัสสาวะได้เองภายใน
4-8 ชั่วโมงหลังคลอด
ระบบทางเดินอาหาร
ผลของ progesterone ขณะตั้งครรภ์—>ถ่ายอุจจาระได้ปกติ วันที่ 2-3 หลังคลอด
สูญเสียน้ำ, NPO,
SSE
เจ็บแผลฝีเย็บ
Temp. สูง
Reactionary fever T ไม่เกิน 38 องศา ใน 24 hrs หลังคลอด
Milk fever เกิด 3-4 วันหลังคลอด
Temp. ต่ำ
Hypothermic reaction
Postpartum chill
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ปริมาณเลือดลดลง
Orthostatic Hypotension
Pulse ช้า 60-70 BPM
ระบบผิวหนัง
2-3 วันหลังคลอดผิวหนังกำจัดน้ำออกทางเหงื่อ
ผมร่วงเป็นหย่อมๆ (Alopecia)
พบ 4-20 สัปดาห์หลังคลอด
เกิดจาก Estrogen เพิ่มขณะตั้งครรภ์ ทำให้ผมงอกช้า
ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อหน้าท้องลดลง
Diastasis rectus abdominis
After pain 2-3 วันหลังคลอด
คลอดล่าช้า ครรภ์แฝด แฝดน้ำ ทารกตัวใหญ่BF คลอดหลายครั้ง
เต้านม
BF
Posterior pituitary gland หลั่ง Oxytocin
หลั่งน้ำนม, มดลูกหดรัดตัว
Anterior pituitary gland หลั่ง Prolactin
ผลิตน้ำนม
การมีประจำเดือน
ไม่ได้เลี้ยงลูกด้วยนมมารดา 7-9 สัปดาห์หลังคลอด
เลี้ยงลูกด้วยนมมารดา 9 เดือนหลังคลอด
การปรับตัวของมารดาหลังคลอด
Taking-in phase(Dependent phase) ระยะพึ่งพาผู้อื่นและสนใจตนเอง
วันที่ 1-2 หลังคลอด
มารดาสนใจความสุขสบายของตนเองมากกว่าบุตร
ต้องการพึ่งพาผู้อื่น
ระบายความรู้สึกถึงเหตุการณ์ในการคลอด
พยาบาลสนับสนุนช่วยเหลือให้ นอนหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอ
Taking-hold phase(Dependent-independent phase) ระยะพึ่งพาผู้อื่นและเป็นอิสระ
วันที่ 3-10 หลังคลอด
สบายขึ้น หายอ่อนเพลีย
สนใจทารกมากขึ้น
แนะนำเกี่ยวกับการดูแลตนเองและบุตร
Letting-go phase(Interdependent phase) ระยะ
พึ่งพากันและกัน
หลังคลอด 10 วันไปแล้ว
รับผิดชอบต่อบทบาทอย่างเต็มที่
ปรับความสัมพันธ์ระหว่างมารดากับสามีและสมาชิกในครอบครัว
อารมณ์เศร้าหลังคลอด (Postpartum blues or Baby blues)
เกิดอาการวันที่ 2-3 หลังคลอด อาการมากที่สุดวันที่ 5 หายเองวันที่ 10
สาเหตุ
estrogen และ progesterone ลดลง
ความไม่สุขสบายด้านร่างกาย
เหนื่อยล้าระหว่างคลอดและหลังคลอด
คลอดยาก ผ่าตัดคลอดโดยไม่คาดหมาย
ผิดหวังเกี่ยวกับบุตร
เครียดเกี่ยวกับบทบาทมารดา กังวลในการดูแลบุตร
วิตกกังวลเกี่ยวกับอาการของบุตร
รู้สึกถูกละเลย ขาดการช่วยเหลือจากสมาชิกในครอบครัว
อาการ
อารมณ์เปลี่ยนแปลงบ่อย
ร้องไห้ง่ายโดยไม่มีเหตุผล
รู้สึกเสียใจ (Letdown feeling)
กระวนกระวาย เหนื่อยล้า
นอนไม่หลับ ปวดศีรษะ
วิตกกังวล เศร้า โกรธ
รู้สึกว่าตนเองไม่มีคุณค่า
การประเมินสุขภาพมารดาหลังคลอด
Background ภูมิหลัง
ข้อมูลส่วนบุคคล
ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดในอดีต
ประวัติความเจ็บป่วยในครอบครัว
ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดในปัจจุบัน
ประวัติทารกเกิดใหม่
ข้อมูลอื่นๆ
Body condition : สภาวะทั่วไปของร่างกาย
ลักษณะทั่วไป
ภาวะซีด
การประเมินบริเวณขาส่วนล่าง
การพักผ่อนนอนหลับ
ความต้องการอาหารและน้ำ
Body temperature and blood pressure
Temp.
Pulse
Pain
BP
Resp.
Breast & lactation เต้านมและการหลั่งน้ำนม
เต้านมและหัวนม
การหลั่งน้ำนม
ชนิดของน้ำนม
Belly & uterus หน้าท้องและมดลูก
กล้ามเนื้อและผนังหน้าท้อง
มดลูก
Bladder : กระเพาะปัสสาวะ
การขับถ่ายปัสสาวะ
กระเพาะปัสสาวะเต็ม
จำนวนปัสสาวะที่เหลือค้าง
Bleeding & lochia : เลือดและน้ำคาวปลา
เลือดที่ออกทางช่องคลอด
น้ำคาวปลา
Lochia rubra
lochia serosa
Lochia alba
Bottom : ฝีเย็บและทวารหนัก
ฝีเย็บ : ประเมินตาม REEDA
Redness - แดง
Edema - บวม
Echymosis - บวมเลือด
Discharge – สิ่งคัดหลั่ง
Approximation - ขอบแผลชิดติดกัน
ทวารหนัก
Bowel movement : การทำงานของลำไส้
การขับถ่ายอุจจาระ
Blues : ภาวะด้านจิตสังคม
ประเมินอารมณ์เศร้าหลังคลอดการปรับตัวของมารดา
Bonding & attachment
มารดา-ทารก
การสัมผัส
ครอบครัว
การตอบสนอง
Baby ทารก
ศีรษะและใบหน้า
การหายใจ
ผิวหนัง
สะดือ
ทวารหนัก
อวัยวะสืบพันธุ์
ลักษณะทั่วไป
การส่งเสริมสุขภาพมารดา
หลังคลอด
ด้านร่างกาย
ฝี เย็บและ
น้ำคาวปลา
มดลูก
การพักผ่อน
การปฏิบัติกิจกรรม
การรับประทานอาหาร
การขับถ่าย
การบริหารร่างกาย
การรักษา
ความสะอาด
การดูแลเต้านม
และหัวนม
สัญญาณชีพ
การพยาบาลมารดาหลังคลอดที่มีภาวะเบี่ยงเบนทางสุขภาพ
Reactionary fever
T : 37.8 – 38 องศาเซลเซียส ใน 24 ชม.หลังคลอด
เกิดจากการสูญเสียพลังงานในการคลอดหรือชอกช้ำจากการคลอด
การพยาบาล
ดื่มน้ำบ่อยๆ
เช็ดตัวระบายความร้อน
ให้พักผ่อน ลดการรบกวน
รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และให้พลังงาน
ดื่มเครื่องดื่มอุ่นๆ
ปวดมดลูก (After pain)
เกิดจากมดลูกหดรัดตัวและคลายตัวสลับไปมา
อาการทุเลาลงภายใน 48 ชั่วโมงหลังคลอด
การพยาบาล
อธิบายสาเหตุของการปวด
นอนศีรษะสูงหรือนอนคว่ำใช้หมอนหนุนท้องน้อย
หายใจเพื่อผ่อนคลาย
วางกระเป๋าน้ำเย็น
ให้ยาแก้ปวด
ปวดแผลฝีเย็บ
จากการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อ การดึงรั้งฝีเย็บ ความบอบช้ำของผนังช่องคลอด
การพยาบาล
นอนตะแคงข้างตรงข้ามกับแผลฝีเย็บ
กระเป๋าน้ำแข็งประคบ
หายใจเพื่อผ่อนคลาย
Kegel,s exercise
ใช้ห่วงยางรองนั่ง
ให้ยาแก้ปวด
ริดสีดวงทวารอักเสบ
ขณะคลอดส่วนนำของทารกกดผนังทวารหนัก ทำให้เส้นเลือดและเส้นประสาทที่ทวารหนักบอบช้ำเพิ่มขึ้น
การพยาบาล
หลีกเลี่ยงการนั่งท่าเดียวนานๆ
นอนตะแคงซ้ายหรือนอนคว่ำ
นั่งบนเบาะนุ่ม
Kegel,s exercise
แช่ก้นด้วยน้ำอุ่นละลายด่างทับทิม
ดื่มน้ำๆ เพื่อให้ขับถ่ายสะดวก
ปัสสาวะลำบาก
เนื้อเยื่อบริเวณช่องปัสสาวะชอกช้ำจากการคลอด ความตึงตัวของหูรูดเสีย
ช่วง 2-3 วันแรกหลังคลอด
กระตุ้นให้ปัสสาวะทุก 4-6 ชม.
การพยาบาล
ปัสสาวะในที่เฉพาะ
ให้ลุกจากเตียงเร็ว
ฟังเสียงน้ำไหล
ราดน้ำอุ่นที่อวัยวะสืบพันธุ์ แช่ก้นด้วยน้ำอุ่น
อาบน้ำอุ่น
ดื่มน้ำอุ่น
สวนปัสสาวะให้
ท้องผูก
2-3 วันแรกหลังคลอด
เจ็บแผลฝีเย็บ ไม่กล้าเบ่งถ่าย รับประทานอาหารน้อย ดื่มน้ำน้อย เครียด
การพยาบาล
ดื่มน้ำอุ่นวันละ 2,500-3,000 มล.
รับประทานอาหารที่มีกากใย
ฝึกการขับถ่ายเป็นเวลา
ทำจิตใจให้สบาย
ให้ยาระบาย
ความอ่อนเพลีย
การพยาบาล
ประเมินความต้องการการพักผ่อน
ให้พักอย่างเต็มที่
จัดการพยาบาลอย่างเป็นระบบ
กระตุ้นให้พักขณะลูกหลับ
เต้านมคัดตึง (Breast engorgement)
สาเหตุ
1.มีการคั่งของเลือดและน้ำเหลือง
เกิด 3-4 วันแรกหลังคลอด
2.มีน้ำนมขังอยู่เต็ม Alveoli (ถุงผลิตน้ำนม)
เกิดหลังวันที่ 3-4
น้ำนมไม่ได้รับการถ่ายออกจากเต้านม
แม่ถูกแยกจากลูกในวันแรกๆ หลังคลอด
ท่าทางการอุ้มและการดูดของลูกไม่ถูกต้อง
อาการ
เต้านมขยายใหญ่ หนัก ตึงและร้อน มีก้อนแข็งเป็นไต
ผิวหนังแดงเป็นมัน เห็นเส้นเลือดชัดเจน
เจ็บปวดมาก
มีไข้
เนื้อเยื่อรอบหัวนมตึง หัวนมหดสั้นลง
มารดาเลี้ยงลูกด้วยนมตนเอง
การพยาบาล
ให้บุตรดูดบ่อยมากขึ้น
ประคบด้วยความร้อน
นวดและบีบน้ำนมออก
สวมเสื้อยกทรงพยุงไว้
ให้ยาแก้ปวด
มารดาไม่ได้เลี้ยงลูกด้วยนมตนเอง
การพยาบาล
สวมเสื้อยกทรงคับๆ
หลีกเลี่ยงการกระตุ้น
ไม่นวดหรือบีบเต้านม
ประคบด้วยความเย็น
ให้ยายับยั้งการหลั่งน้ำนม
ให้ยาแก้ปวด
หัวนมแตก(Cracked nipple)
เกิดจากการให้นมบุตรไม่ถูกต้อง ทารกดูดนมไม่ถึงลานนม
มี Tongue-tie
การพยาบาล
ดูดนมอย่างถูกวิธี
ดึงหัวนมออกจากปากอย่างถูกวิธี
ปล่อยให้หัวนมแห้งเองหลังให้นม
ทำด้วยน้ำนมแม่
งดให้บุตรดูดนมข้างนั้น
หลีกเลี่ยงการถูสบู่บริเวณหัวนม
เปลี่ยนท่าอุ้มทารกเป็น Football hold
ดูดบ่อยขึ้นทุก 1-2 ชม.
การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
การสร้างน้ำนม (Lactogenesis)
Estrogen and Progesterone (Prolactin - inhibiting factor) ลดลง —> Hypothalamus —> Anterior pituitary gland —> หลั่ง Prolactin
การผลิตน้ำนมและการหลั่งน้ำนม
การดูดของทารก
Anterior pituitary gland—> Prolactin —> สร้างน้ำนม
Let- down reflex
Posterior pituitary gland —> Oxytocin —> น้ำนมไหล
การผลิตน้ำนมและการหลั่งน้ำนม
สมองสั่งให้ร่างกายผลิตน้ำนม
Prolactin กระตุ้นการผลิตน้ำนม
Oxytocin กระตุ้นการหลังน้ำนม
Positive feedback
Sucking stimulus
ลูกอ้าปากหาหัวนม
ลูกดูด
ลูกกลืนน้ำนม
กลไกการดูดนมของบุตร
งับ —> ใช้ลิ้นช้อนใต้หัวนมแล้วตะวัดหัวนม
ชนิดของน้ำนมแม่
Colostrums
พบใน 1-5 วันหลังคลอด สีเหลืองข้น
น้ำนมเหลือง น้ำนมทอง หัวน้ำนม
มีโปรตีนส่วนมาก
มีภูมิคุ้มกัน IgA
กระตุ้นลำไส้มีฤทธิ์เป็นยาระบาย
Transitional milk
น้ำนมระยะปรับเปลี่ยน
พบวันที่ 7-10 จนถึง 2 สัปดาห์
ภูมิคุ้มกัน
น้ำตาล ไขมัน วิตามินที่ละลายในน้ำเพิ่มขึ้น
3.Mature milk
น้ำนมแท้
สีขาว พบ 2 สัปดาห์หลังคลอด
มีปริมาณน้ำมากที่สุด 87 %
โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต วิตามินและเกลือแร่
นมแม่
อาหารครบ
ประหยัด
สะอาด
ผลดีกับแม่
ภูมิต้านทาน
จิตใจ
ภูมิแพ้
โรคอ้วน
ผลดีต่อมารดา
มดลูกเข้าอู่เร็ว
รูปร่างดี ไม่อ้วน
มีความรู้สึกเป็นมารดามากขึ้น
เว้นระยะการตั้งครรภ์นานขึ้น
ประหยัด สะอาด อุณหภูมิพอเหมาะ
เสี่ยงต่อมะเร็งเต้านมน้อยลง
ผลดีต่อทารก
ได้รับสารอาหารครบ
ได้รับสารอื่นที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย
ภูมิคุ้มกันโรค
ลดการเกิดโรคภูมิแพ้
กระตุ้นความรักใคร่ผูกพัน
การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ระยะตั้งครรภ์
ให้ความรู้แก่มารดาและครอบครัว
เตรียมเต้านมมารดา
โภชนาการของมารดา
ระยะคลอด
ดูดกระตุ้นโดยเร็วหลังคลอด
มารดาอุ้มทารกแนบอก
ระยะหลังคลอด
แม่-ลูกอยู่ด้วยกัน
หลัก 4 ด
1.ดูดเร็ว
ระยะที่ลูกตื่นตัว ½ - 1 ชม.หลังคลอด
กระตุ้นความรักใคร่ผูกพัน
กระตุ้นความเป็นแม่
ให้ภูมิคุ้มกัน
กระตุ้นการสร้างน้ำนม
2.ดูดบ่อย
ทุก 2-3 ชม.
Rooming-in, Bedding-in
3.ดูดถูกวิธี
จัดท่าให้เหมาะสม
พุงชิดพุง คางชิดอก
อ้าปากกว้าง อมมิดลาน
4.ดูดเกลี้ยงเต้ำ
LATCH Score 0-10 คะแนน
ความสุขสบาย
ท่าต่างๆของการให้นม
Cradle-hold position
Cross-cradle position
Football hold position
Side-lying position
ปัญหาในการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา
ปัญหาด้านมารดา
หัวนมสั้น แบน หรือบุ๋ม
หัวนมใหญ่ หัวนมยาว
น้ำนมไม่เพียงพอ
เต้านมคัดตึง
ท่อน้ำนมอุดตัน
เจ็บหัวนมหรือหัวนมแตก
ปัญหาด้านบุตร
ปฏิเสธการเข้าเต้า
บุตรแฝด
ภาวะลิ้นติด (tongue-tie)
ปากแหว่ง เพดานโหว่ (cleft lip and cleft palate)
ภาวะตัวเหลืองในบุตรที่ดูดนมมารดา
เทคนิคการบีบน้ำนม
1.นวดและคลึงหัวนมเพื่อกระตุ้นการหลั่งน้ำนม
2.วางนิ้วมือห่างจากหัวนม 3-4 ซม
3.กดเข้าหาหน้าอก
4.บีบเข้าหากัน
5.น้ำนมไหลออกจากท่อน้ำนม
ระบายนมออกได้มากและสม่ำเสมอ น้ำนมจะสร้างมาก
ระบายนมออกได้น้อย นมค้างอยู่ในเต้า เต้านมคัด น้ำนมสร้างน้อยลงหรือหยุดสร้าง
การเก็บรักษาน้ำนมแม่
อุณห้อง ( > 25 องศาเซลเซียส ) เก็บได้ 1 ชั่วโมง
ช่องแช่แข็งตู้เย็นประตูเดียว แช่ได้ 2 wk
ช่องแช่แข็งตู้เย็น 2 ประตู เก็บได้ 3 m
ตู้เย็นช่องธรรมดา เก็บได้ 2-3 วัน
กระติกที่มีน้ำแข็ง (ตลอดเวลา) เก็บได้ 1 วัน
การนำน้ำนมแม่ที่ปั๊มเก็บไว้มาให้ลูก ให้นำไปแช่น้ำธรรมดาหรือน้ำอุ่น
การส่งเสริมสัมพันธภาพ
สัมพันธภาพ ความรักใคร่ผูกพันระหว่างมารดาและบิดาหรือผู้เลี้ยงดูกับทารก เป็นความผูกพันทางจิตใจทั้งสองฝ่ายเกิดขึ้นในช่วงขวบปีแรกของชีวิตจะคงอยู่อย่างถาวรตลอดไป
ความผูกพัน ความผูกพันทางอารมณ์ ความผูกพันนี้จะเกิดขึ้นกับผู้เลี้ยงดูเพียงฝ่ายเดียว (one-way process) โดยเกิดขึ้นกับผู้เลี้ยงดูที่ใกล้ชิดกับทารกมากที่สุดคือ มารดา และรองลงมา คือ บิดา หรือ ย่า ยาย ผู้ให้การเลี้ยงดู
Early bonding ช่วงเวลา 30-45 นาที หลังคลอดเป็นช่วง Sensitive period ของมารดาเป็นเวลาสำคัญในการสร้างสัมพันธภาพ
Rooming-in 24 hr.
30 นาทีแรก ทารกมี Sucking reflex มากที่สุด
ช่วง 45-60 นาทีแรก ทารกตื่นตัวมากที่สุด (Quiet alert)
พฤติกรรมที่มารดาแสดงต่อบุตร
Touch- การสัมผัส
Eye-to-eye contact- การประสานสายตา
High-pitched voice- การใช้เสียงแหลมสูง
Entrainment- การเคลื่อนไหวตามจังหวะ
Odor- การรับกลิ่นเฉพาะ
Time-giver- การให้เวลาและความมั่นคง
Heat - การให้ความอบอุ่น
พฤติกรรมที่ทารกแสดงต่อมารดา
Touch- การสัมผัส
Eye-to-eye contact- การประสานสายตา
Cry- การร้อง
Entrainment- การเคลื่อนไหวตามจังหวะ
Odor- การรับกลิ่นกายของมารดา
ปัจจัยขัดขวางสัมพันธภาพ
ด้านทารก
ทารกคลอดก่อนกำหนด พิการ
ทารกมีภาวะแทรกซ้อน เช่น ตัวเหลือง
มีปัญหาทางเดินหายใจ ต้องแยกจากมารดา
ด้านบิดา บิดาไม่สามารถปรับตัวต่อบทบาทใหม่
ด้านโรงพยาบาล การแยกจากกันทันทีหลังคลอด