Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เครื่องมือกลและเครื่องมือในการสร้าง, ศักดิ์วรินทร์ วรรณทองเลขที่14ชั้น2\7 …
เครื่องมือกลและเครื่องมือในการสร้าง
รอก (pulley) คือ เครื่องกลที่มีลักษณะเป็นล้อหมุนได้คล่องรอบแกน ที่ขอบของล้อมมีเชือกหรือสายเคเบิลพาดล้อเพื้อใช้ยกของหนักขึ้นที่สูงหรือหย่อนลงที่ต่ำ เช่น การสร้าง โรงงานอุตสาหกรรม ระบบรอกเดี่ยวจะประกอบด้วยรอกเดี่ยวตายตัวและรอกเดี่ยวเคลื่อนที่
รอดเดี่ยวตายตัว คือ รอกที่ตรึงอยู่กับที่ หรือรอกที่ผูกติดขณะทำงาน รอกประเภทนี่ไม่สามารถช่วยผ่อนแรงได้ แต่ช่วยให้สามารถเปลี่ยนทิศทางในกาออกแรงได้
เมื่อนำรอกทั้ง 2 ประเภทรวมเข้าด้วยกัน เพื่อให้สามารถใช้ในการผ่อนแรงได้มากขึ้น และประหยัดพื้นที่การใช้งาน เรียกรอกประเภทนี้ว่า รอกพวง
รอกเดี่ยวเคลื่อนที่ เป็นรอกที่เคลื่อนที่ได้ขณะที่ใช้งาน วัตถุผูกติดกับตัวรอกใช้เชือกหนึ่งเส้นพาดรอบล้อโดยปลายข้างหนึ่งผูกติดกับเพดาน ปลายอีกข้างหนึ่งใช้สำหรับดึง เมื่อดึงวัตถุขึ้นในแนวดิ่งแรงที่ใช้ดึงมีค่าเท่ากับครึ่งหนึ่งของน้ำหนักของวัตถุ รอกเดี่ยวเคลื่อนที่เป็นเครื่องกลที่ช่วยผ่อนแรง
คาน (Level) เครื่องกลที่มีลักษรธแข็ง เป็นแท่งยาว ใช้ดีดหรือวัตถุให้เคลื่อนที่รอบจุดหมุนหรือจุดฟัลครัม (F) ส่วนประกอบที่สำคัญในการทำงานของคานมี 2 ส่วน ประกอบด้วย แรงความพยามยามหรือแรงที่กระทำต่อคาน (E) แรงความต้านทานหรือน้ำหนักของวัตถุ (W) และจุดหมานหรือจุดฟัลครัม
คานอันดับที่ 1 เป็นคานที่มีจุด (F) อยู่ระหว่างแรงความพยายาม (E) และแรงความต้านทาน (W) เช่น กรรไกรตัดผ้า กรรไกรตัดเล็บ คีมตัดลวด เรือแจว ไม้กระดก เป็นต้น
พื้นเอียง (Inclined Plane) คือ พื้นเอียง คือ เครื่องกลที่ช่วยผ่อนแรง มีลักษณะเป็นไม้กระดานยาวเรียบ ใช้สำหรับพาดบนที่สูงเพื่อขนย้ายวัตถุขึ้นสู่ที่สูงโดยการลากหรือการผลัก ช่วยอำนวยความสะดวก และช่วยผ่อนแรงในการขนย้ายสิ่งของขึ้นหรือลงจากยานพาหนะ
ล้อและเพลา (wheel and Axie) คือเป็นเครื่องกลที่ช่วยผ่อนแรงประกอบด้วยวัตถุทรงกระบอก 2 อันติดกัน อันใหญ่เรียกว่าล้อ อันเล็กเรียกว่าเพลา ใช่เชือก 2 เส้น พันรอบล้อเส้นหนึ่ง อีกเส้นหนึ่งพันรอบเพลา โดยพันไปคนละทาง ปลายข้างหนึ่งของเชือกที่พันรอบเพลาผูกติดกับวัตถุ ปลายข้างหนึ่งของเชือกที่พันรอบล้อใช้สำหรับออกแรงดึง
ลิ่ม (Wedge) คือ เครื่องกลที่ใช่ผ่อนแรงมีลักษณะปลายด้านหนึ่งแบนหรือแหลมส่วนอีกด้านหนึ่งเป็นหน้าเรียบ ใช้แยกเนื้อวัตถุออกจากกันด้วยการให้แรงในแนวตั้งฉากกับส่วนหัวที่เป็นด้านเรียบ จะทำให้เกิดการเปลี่ยนแรวตั้งฉากไปเป็นแรงในแนวตั้งฮากกับพื้นเอียง
คานอันดับที่ 3 เป็นคานที่มีแรงความพยายาม (E) อยู่ระหว่างแรงความต้านทาน (W) และจุดหมุน (F) เช่น ตะเกียบ คีมคีบถ่าน แหนบ เป็นต้น
ศักดิ์วรินทร์ วรรณทองเลขที่14ชั้น2\7