Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 Nursing care of the newborn - Coggle Diagram
บทที่ 8 Nursing care of the newborn
การจำแนกทารกแรกเกิด
จำแนกตามน้ำหนักตัว
ต่ำกว่า 2500
2500-4000
จำแนกตามอายุครรภ์ WHO
Preterm อายุครรภ์น้อยกว่า 37 wk
Full-term newborn อายุครรภ์ 37-42 wk
Post term อายุครรภ์มากกว่า 42 wk
การตรวจร่างกายตามระบบ
สภาพร่างกายทั่วไป
รูปร่างและลักษณะ
ค่อนข้างกลม
แขนขาสั้นเมื่อเทียบกับ
ผู้ใหญ่
จุดกึ่งกลางลำตัวอยู่บริเวณสะดือ
ศีรษะโตเมื่อเทียบกับลำตัว
วงรอบศีรษะจะใหญ่กว่าวงรอบหน้าอกเล็กน้อย
ผิวหนัง
สีชมพู อ่อนนุ่ม เรียบ
มีขนอ่อนบริเวณแขน ขา หน้าผาก จะร่วงเมื่ออายุประมาณ 1 สัปดาห์
ปกคลุมด้วยไข (Vernix caseosa)
ผิวหนังลาย หรือเป็นจ้ำสีขาวซีดสลับกับสีคล้ำ (Marble skin or cutis marmorata) เกิดจากหลอดเลือดบางส่วนขยายตัวและบางส่วนหดตัว
อาการเขียวที่ปลายมือและปลายเท้า (Peripheral cyanosis or acrocyanosis) เป็นภาวะปกติที่เกิดขึ้นเนื่องจากมีเลือดดํามาคั่งมาก มัก เกิดเพียงเวลาสั้นๆ เมื่อร่างกายทารกพบกับความเย็น
ปานเขียว (Mongolian spots) ผิวหนังจะมีลักษณะสีน้ำเงินปนเทา
Erythema toxicum (Urticaria neonatorum)
ผื่นสีชมพูขนาด 1-2 เซนติเมตรตรงกลางผื่นมีตุ่มมนูนสีนวลขนาด เท่าหัวเข็มหมุดกระจายไปทั่วร่างกาย
Hemangiomas การงอกขยายของเส้นเลือดฝอยใต้ผิวหนัง ทำให้ผิวหนังแดง พบบริเวณท้ายทอย หนังตาบน หน้าผาก ริมฝีปากบน
ศีรษะ
facial nerve palsy หายเองใน 1-2 wk
Cephalhematoma การมีเลือดออกใต้เยื่อหุ้มกะโหลกศีรษะ อยู่บนกระดูกกะโหลกศีรษะแต่ละชิ้นจะไม่ข้ามรอยประสานของกะโหลก พบในทารกที่ใช้เครื่องสูญญากาศช่วย หายเองใน 1-2 เดือน
Anterior fontanelle รูปสี่เหลี่ยนมขนมเปียกปูน กว้าง ~2-3cms. ยาว ~3-4cms
Posterior fontanelle รูปสามเหลี่ยม
กว้าง ~1–2 c ms
นุ่ม ตึง แต่ไม่โป่ง รอบศีรษะ 33-35 ซม
การเกยกนั ของกะโหลกศีรษะ (Molding) ขณะผ่านทางคลอดของมารดา ประมาณวันที่ 3-4 หลังเกิดจะกลับเป็นปกติ
Caput succedaneum ส่วนนำในการคลอดถูกกดขณะผ่านทางคลอดของมารดา ทำให้
มีน้ำคลั่งอยู่ในชั้นเยื่ออ่อนของหนังศีรษะ การบวมของหนังศีรษะนี้จะบวมล้ำรอยประสานของกระดูกกะโหลกศีรษะแต่ละชิ้นได้ หายเองใน 2-3 วัน
ตา เปลือกตา เยื่อบุตาขาว ตาขาว กระจกตา เลนส์ตา
ตําแหน่งของตา
เลือดออกที่บริเวณตาขาว (subconjunctival hemorrhage)
หายเองใน 2 – 3 สัปดาห์
จมูก
ทารกแรกเกิดสามารถหายใจทางจมูกเท่านั้น หลังเกิด 6 สัปดาห์ จึงสามารถหายใจทางปากได้
ปาก
ริมฝีปากแหว่ง (cleftlips)
เพดานโหว่ (cleft palate)
ฟันขึ้น
retention cyst หรือ epstein’s pearl คือจุดขาว ๆ เล็ก ๆ เท่าหัวเข็มหมุด บนเพดานปาก
Tongue tie
คาง
คางเล็ก และสั้นกว่าปกติ Pierre Robin Syndrome
ลิ้นตกไปข้างหลัง ทำให้หายใจไม่สะดวก ให้นอนคว่ำหรือนอนตะแคงข้างใดข้างหนึ่ง
หู
อยู่ในระดับหางตา
ติ่งเนื้องอกข้างหู (preaudicular skin tag)
คอ
ปีกที่คอยื่นออกมาทั้งสองข้างและแผ่ติดไปยังไหล่ในผู้ที่เป็นโรคทางพันธุกรรมคือ
turner’ syndrome หรือ Down’s syndrome
ทรวงอก
กลม สมมาตร กระดูกอ่อนและนุ่ม บางคนพบเต้านมทั้งสองข้างใหญ่ คัดตึง และมีสารสีขาวจาง ๆ คล้าย
น้ํานมเรียกว่า Witch’s milk ห้ามบีบเค้นเต้านมเพราะจะทําให้อักเสบ
ปอด
หายใจโยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องและกระบังลม หายใจไม่สม่ำเสมอ
RR 30-60 ครั้ง/นาที
คลอดก่อนกำหนด มีการหายใจเร็วสลับหยุดเป็นครั้งคราว นาน 5-10 วิ คือ Periodic breathing
หัวใจ
PR 120-160 ครั้ง/นาที
ทารกแรกเกิดอาจฟังไม่ได้ยินเสียง Murmur
ท้อง
กลม ยื่นออกมาเล็กน้อย
สายสะดือ สีขาวแกรมเทา มีเส้นเลือดแดง 2 เส้น เส้นเลือดดำ 1 เส้น หลุดเองใน 1-2 wk
อวัยวะสืบพันธุ์
เพศหญิง
ครบกําหนด Labia majora ทั้งสองข้างจะเข้ามาชิด
เพศชาย
ครบกำหนด อัณฑะจะลงมาอยู่ในถุงอัณฑะ รูเปิดปัสสาะอยู่ปลายองคชาติ
Hydrocele
Imperforate anus
Vital signs
อุณหภูมิ วัดทางทวารหนัก 36.5-37.5 องศาเซลเซียส
Heart rate 120-160 /นาที
Respiratory rate 30-60 /นาที
ความดันเลือด 60/40 - 80/50 mmHg.
ปฏิกิริยาสะท้อนกลับ (Reflex)
ปฏิกิริยาสะท้อนทางปาก (Oral Reflex)
ปฏิกิริยาการค้นหา (Rooting Reflex)
ปฏิกิริยาการดูด (SuckingReflex)
ปฏิกิริยาการกลืน (Swollowing Reflex)
ปฏิกิริยาโมโร (Moro Reflex)
ลดลงเมื่ออายุ 3 เดือน และหายไปเมื่ออายุ 5 - 6 เดือน
ปฏิกิริยาสะท้อนด้วยการกำมือ (Palmar grasp Reflex)
3 - 6 เดือนจะค่อย ๆ หายไป
ปฏิกิริยาสะท้อนของคอ (Tonic neck Reflex)
4 - 6 เดือน หลังจากที่ทารกเริ่มคว่ำ ปฏิกิริยาชนิดนี้ต้องหายไป
ปฏิกิริยารีเฟลกซ์เกี่ยวกับการเดิน (SteppingReflex)
ปฏิกิริยาจะหายไปเมื่อทารกอายุประมาณเดือนที่สามและที่สี่
Landau reflex
การตรวจหาอายุในครรภ์ตามวิธีของ
Ballard’s score
การตรวจลักษณะภายนอก (physical maturity)
ประเมิน 1 – 2 ชั่วโมงหลังเกิด
ลักษณะผิวหนัง
Preterm บาง สีแดง มองเห็นหลอดเลือดชัด บวม
Term สีแดงหรือ สีชมพู ผิวเรียบตึง
Post term ลอกและมีรอยย่น
ขนอ่อนบนร่างกายทารก
Preterm มีมากตามลำตัว โดยเฉพาะหน้าและไหล่
Term มีเล็กน้อย หลังและไหล่
Poet term ไม่มีขนอ่อนตามลำตัว
เส้นลายฝ่าเท้า (plantar creases)
Preterm ไม่มี หรือมีเพียงไม่กี่เส้นทางด้านหน้า
Term เส้นลึกชัดเจน กระจายทั่ว
Post term เหมือนทารกครบกำหนด
ความชัดและความนูนของลานนม (areola)
Preterm มีขนาดเล็ก ไม่มีลานนม/มีน้อย
Term ตูมเต่งทั้งชาย หญิง
Post term เหมือนทารกครบกำหนด
ลักษณะใบหู
Preterm กระดูกอ่อนแบนราบ งอไปมา
Term กระดูกอ่อนหนา ได้ทรง รูปร่างดี
Post term เหมือนทารกครบกำหนด
ความสมบูรณ์ของอวัยวะเพศ
Preterm ถุงอัณฑะไม่มีรอยย่น : อัณฑะไม่ลงถุง เห็น labia minora และ clitoris
Term ถุงอัณฑะมีรอยย่นลึก อัณฑะเริ่มลงถุง ไม่เห็น labia minora และ clitoris
Post term เหมือนทารกครบกำหนด
การตรวจทางระบบประสาท (neurolmuscular maturity)
ประเมินภายใน 24 ชั่วโมงหลังคลอด และทารกอยู่ในสภาพพร้อม
1.posture (ท่านอน) ประเมินการงอข้อศอก ข้อตะโพก ข้อเข่า
2.square window เมื่องอข้อมือ วัดมุมที่ฝ่ามือทำกับส่วนปลายของแขน (forearm)
3.arm recoil การงอกลับของแขน หลังจับข้อศอกงอเต็มที่นาน 5 นาที แล้วใช้มือจับ ฝ่ามือทารก เพื่อเหยียดข้อศอกออกเต็มที่ และปล่อยมือจับทารก
popliteal angle มุมที่ขาพับ เมื่อจับเข่าเหยียด โดยยึด sacrum ทารกให้แนบกับที่นอนและต้นขาทารกวางบนท้องผู้ตรวจใช้นิ้วชี้เกี่ยวข้อเท้าหรือจับเท้าทารก เพื่อให้เหยียดเข่า ไปทางศีรษะเต็มที่
scarf sign เมื่อจับมือของทารกดึงไปทางหัวไหล่ วัดระยะไกล สุดที่ข้อศอกของทารกสามารถข้ามผ่านกึ่งกลางหน้าอก
heel to ear การเหยียดขาพับเพื่อให้เท้าใกล้ใบหู โดยให้ทารกนอนแนบกับที่นอน ต้นขาชิดข้างท้อง และผู้ตรวจจับเท้า ทารกดึงมาใกล้ใบหูให้มากที่สดุ โดยไม่ใช้แรง
นําคะแนนที่ได้มารวมกันแล้วเทียบกับอายุครรภ์
การพยาบาล ทารกแรกคลอด
1.การประเมิน Apqar Score
การประเมินความสามารถของทารกในการปรับตัวกับสภาพแวดล้อมภายนอกมดลูก
ประเมินภายใน 1 นาที 5 นาที และ 10 นาทีภายหลังเกิด
A=Appearance เป็นการประเมินสีผิว
P= Pulse เป็นการประเมินชีพจรหรืออัตราการเต้นของหัวใจ
A = Activity ประเมินกล้ามเนื้อกำลังแขนและขา ความตึงตัวของกล้ามเนื้อ หรือการเคลื่อนไหวของแขนขา
G= Grimace เป็นการประเมินปฏิกิริยาตอบสนองต่อการกระตุ้น
R = Respiration เป็นการประเมินการหายใจ
2 คะแนนหรือต่ำกว่า ต้องช่วยอย่างเร่งด่วน ทารกอยู่ในภาวะมีการกดการหายใจอย่างรุนแรง ต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ
3-6 คะแนน ต้องการออกซิเจน
7 คะแนนหรือมากกว่า ปกติ แต่ต้องมีการดูแลติดตามอาการอยู่บ้าง
การป้องกันการสญูเสียความร้อน
1.เช็ดตัวทารกให้แห้ง
2.ห่อตัวทารกด้วยผ้าตั้งแต่ศีรษะจรดปลายเท้า
3.หลีกเลี่ยงการนำทารกไปในที่มีลมพัดผ่านหรือใกล้แอร์
การจัดท่าทารก
1.จัดให้ทารกนอนราบ
2.ตะแคงหน้าไปข้างใดข้างหนึ่ง
3.ไม่ควรนอนศีรษะต่ำ
การช่วยทางเดินหายใจให้โล่ง
1.ใช้ลูกสูบยางแดงดูดเสมหะในปากก่อนแล้วจึงดูดจมูก
2.ไม่ควรเกินครั้งละ 3-5 วินาที
การกระตุ้นการหายใจ
1.การลูบลำตัวและหลัง
2.การเขี่ยฝ่าเท้า
3.ห้ามยกเด็กห้อยหัวและตบก้น
การช่วยเหลือเมื่อทารกมีภาวะขาดออกซิเจน
ช่วยเบื้องต้น
การดูแลอุณหภูมิกาย
ทำทางเดินหายใจให้โล่ง
การกระตุ้นให้ทารกหายใจด้วยการสัมผัส
ทำให้ทารกมีกรหายใจอย่างเพียงพอ
การนวดหัวใจ
การบริหารยา
ขั้นตอนการปฏิบัติการพยาบาลการรับใหม่ทารกแรกเกิด
ล้างมือให้สะอาด เช็ดให้แห้ง
สวมถุงมือ Dispossible ชั่งน้ำหนักทารก
ปฏิบัติการพยาบาลต่างๆ
การเช็ดตาทารก
ใช้สำลีปลอดเชื้อ ชุบด้วย N.S.S. 2 ก้อนบีบพอหมาด
เช็ดจากหัวตาไปหางตา
การหยอดตา
เปิดตาทารก (การเปิดตาต้องเปิดใหเ้ห็นeye
ball และ cornea)
หยอดตาด้วย 1% Silver Nitrate บนเยื่อบุลูกตาค่อนมาทางหัวตา 1 หยด
หยอดตาอีกข้างเช่นเดียวกัน
การวัดปรอททางทวารหนัก
การเช็ดไขตามร่างกายทารก
การทำความสะอาดศีรษะทารกแรกคลอด
การทำความสะอาดร่างกายทารก
การวัดรอบศีรษะ รอบอก และความยาวมารก
การทำความสะอาดสะดือทารกแรกคลอด
การดูด Gastric Content
การฉีด Vitamin K1, HBV
การผูกป้ายข้อมือ
การห่อตัวทารกแบบคลุมศีรษะ
การให้ความอบอุ่นทารกแรกเกิด
การพยาบาลทารกแรกเกิดประจำวัน
การพยาบาลเพื่อป้องกันภาวะอุณหภูมิร่างกายต่ำในทารก
ป้องกันการสูญเสียความร้อน
ชั่งน้ำหนักตัวทารก โดยมีผ้าปูรอง
สวมเสื้อ ผ้าอ้อม ห่อตัวทารก ไม่ควรเปิดเผยร่างกายทารกเกินความจำเป็น
ให้การพยาบาลทารกภายใต้ Radiant heater
หลีกเลี่ยงการอยู่ในสถานที่ที่เย็น
วัดอุณหภูมิทุก 4-8 ชม
การพยาบาลเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
เตรียมอุปกรณ์ที่จําเป็นสําหรับทารกให้สะอาดหรือปราศจากเชื้อพร้อมที่จะใช้งานได้ทันที
ใช้สําลีชุบ 0.9 % NSS เช็ดทำความสะอาดตาทุกวัน
การดูแลสายสะดือ
ล้างมือก่อนและหลังการจับทารกทุกครั้ง
แยกของใช้สำหรับทารกแต่ละคน
แยกทารกที่สงสัยว่ามีการติดเชื้อ
ดูแลให้ได้รับสารอาหารอย่างเพียงพอ
BFทุก3ชม.หรือ8ครั้ง/d
ชั่งน้ำหนักทุกวัน เวลาเดียวกัน
ช่วง 2-3 วันแรกหลังคลอด นน.ลดลงได้ไม่เกิน 10% หลังจากนั้น 7-10 วัน นน.ขึ้น เท่ากับแรกเกิด ต่อจากนั้นขึ้น 20-50 กรัม/d
การส่งเสริมพัฒนาการตามวัย
ส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างครอบครัว
การดูแลแบบแกงการู (kangaroo care)
การนวดทารก
ส่งเสริมทารกกินนมแม่