Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 Nursing care during labour and delivery - Coggle Diagram
บทที่ 5 Nursing care during
labour and delivery
สาเหตุของความความเจ็บปวดในการคลอด
ความเจ็บปวดจากอวัยวะภายใน (Visceral pain)
ระยะที่ 1 ของการคลอด เกิดจากการหดรัดตัวของมดลูก
T10, T11, T12, L1
ระยะที่ 3,4 เกิดจากการหดรัดตัวของมดลูก
ความเจ็บปวดจากร่างกาย (somatic pain)
ระยะที่ 2 ของการคลอด เกิดจากการยืดขยายของ
ช่องคลอด ฝี เย็บ พื้ นเชิงกราน
S2, S3, S4
กลไกความเจ็บปวดในระยะคลอด
A – ระยะที 1 ของการคลอด
T10 T11 T12 L1
B – ปลายระยะที 1 ถึงช่วงต้น
ระยะที 2 ของการคลอด
ปวด perineum
C – ระยะที 2 ของการคลอด
S2 S3 S4
ทฤษฎีความเจ็บปวด
ทฤษฎีควบคุมประตู (gate control theory)
ใยประสาทขนาดใหญ่ ( A fiber ) และใยประสาทขนาดเล็ก ( C fiber ) นํากระแสความเจ็บปวด (pain impulse) เข้าสู่ไขสันหลัง ก้านสมอง เปลือกสมอง
ที่ spinal cord
ทฤษฎีการควบคุมความเจ็บปวดภายใน
สาร Endorphins ออกฤทธิ์ที่ opiate receptor ยับยั้งใยประสาทที่นํากระแสความเจ็บปวดในระบบประสาท ส่วนกลางและส่วนปลาย ทำให้การรับรู้ความเจ็บปวดจึงลดลง
ผลที่เกิดจากความเจ็บปวดในการคลอด
ผลต่อผู้คลอด
การคลอดยาวนาน
ระบบหายใจ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ระบบทางเดินอาหาร
อารมณ์ ความรู้สึก
ผลต่อทารกในครรภ์
ทารกในครรภ์ขาดออกซิเจน
เทคนิคและวิธีการบรรเทาความเจ็บปวดโดยไม่ใช้ยา
ใช้หลักทฤษฎีควบคุมประตู
การลูบหน้าท้อง
การสัมผัสและการนวด
การใช้ความร้อนและความเย็น
การบำบัดด้วยน้ำ
การฝังเข็ม
การเคลื่อนไหวและการเปลี่ยนท่า
การกระตุ้นทางผิวหนัง เพื่อลดสิ่งกระตุ้นความเจ็บปวด
ใช้หลักทฤษฎีการผ่อนคลายความเจ็บปวด Lamaze method/Phychoprophylaxis method
การกระตุ้นประสาทสัมผัส
การเพ่งจุดสนใจ
เทคนิคการหายใจ
การจินตนาการ
ดนตรีบําบัด
การสะกดจิต
การใช้กลินหอมระเหย
เทคนิคการผ่อนคลาย
ด้วยตนเอง
เพิ่มความสนใจ มองภาพเพื่อเบี่ยงเบนความสนใจซึ่งมีผลให้พลังของใยประสาทขนาดเล็กให้อ่อนกำลังทำให้ใยประสาทขนาดใหญ่ทำงานได้มากกว่า สามารถนำกระแสประสาทรับความรู้สึกผ่อนคลายได้มากกว่ากระแสประสาทรับความเจ็บปวด
หายใจช้าและลึก
ระยะ Latent phase
หายใจเข้าทางจมูกช้าๆ และผ่อนลมหายใจออกทางปากช้าๆ ประมาณ 6-9 ครั้ง/นาที
หายใจตื้น เบา เร็ว
ระยะ Active phase
หายใจเข้าและออกยาวๆ 1 ครั้ง แบบที่ 1 หายใจตื้น เบา เร็ว และหายใจแบบที่ 1เมื่อมดลูกเริ่มคลายตัว
หายใจตื้น เบา เร็ว และเป่าออก
ระยะ Transitional phase
แบบที่ 2 แล้วเป่าปาก
เทคนิคการฝึกหายใจในระยะเจ็บครรภ์ที่นิยมใช้
การหายใจเพื่อเบ่งคลอด
ปากมดลูกเปิดหมด 10 ซม
สูดหายใจเข้าลึกๆ กลั้นลมหายใจ ปิดแากแน่น คางชิดอก แล้วเบ่งลงก้น
ทำทั้งหมดประมาณ 3-4 ครั้งต่อการหดรัดตัวของมดลูก 1 ครั้ง
เมื่อหยุดเบ่ง ให้อ้าปากหายใจเข้าออกทางปากตื้นๆ เร็วๆ
ใช้หลักทฤษฎีการผ่อนคลายความเจ็บปวด Deck-Read method
การให้ข้อมูลตลอดการตั้งครรภ์
สามีเข้ามามีส่วนร่วมในการคลอด
ใช้หลักการลดความดันด้วยการสร้างความเข้าใจและสร้างความมั่นใจในการคลอด
ใช้หลักทฤษฎีการผ่อนคลายความเจ็บปวด Bradley method/Husband-coached childbirth
การควบคุมการหายใจและการหายใจด้วยหน้าท้อง
ให้สามีเฝ้าคลอดในบรรยากาศที่เป็นส่วนตัวและสงบ
การประเมินระดับความเจ็บปวดระยะเจ็บครรภ์
Face Pain scale
Verbal rating scale
Color Pain scale
Numeric rating scale