Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ลำดับขั้นตอนการทำโครงงานการออกแบบเเละเทคโนโลยี - Coggle Diagram
ลำดับขั้นตอนการทำโครงงานการออกแบบเเละเทคโนโลยี
ขั้นที่1การสำรวจสถานการณ์หรือปัญหาที่สนใจproblem ldentication
เป็นขั้นตอนที่ผู้แก้ปัญหาความเข้าใจในสิ่งที่พบเห็นเป็นปัญหาในชีวิตประจำวันซึ่งสามารถใช้ทักษะการตั้งด้วย 5W1H เมื่อเกิดปัญหาหรือความต้องการคำถามจากหลัก 5W1H ประกอบด้วย
who เป็นการตั้งคำถามกับการเกี่ยวข้องกับบุคคลปัญหาหรือความต้องการ
wath เป็นการตั้งคำถามว่าอะไรคือปัญหาหรือความต้องกาารจากสถานกราณ์นั้น
when เป็นการตั้งปัญหาเกี่ยวหรือความต้องการของสถานการณ์นั้นว่าจะเกิดขึ้นเมื่อใด
where เป็นการตั้งปัญหาเกี่ยวกับปัญหาหรือความต้องการของสถานการณ์นั้นว่าเกิดที่ไหน
why เพื่อวิเคราะห์สาเหตุว่าทำไมถึงเกิดปัญหาหรือความต้องการ
้how เป็นการคั้งคำถามเพื่อวิเคราะห์หาเเนวทางหรือวิธีการเเก่้ปัญหานั้นว่าว่าสามารถทำได้ด้สยวิธีการอย่างไร
2 รวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหา (Related Information Search)
ขั้นตอนนี้เป็นการรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับปัญหาหรือความต้องการ เพื่อหาวิธีการ ที่หลากหลายสำหรับใช้ในการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการที่กำหนดไว้ในขั้นที่ 1 โดยการคันหาและรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เช่นสอบถามจากผู้รู้ สืบค้นหรือสำรวจจากสื่อและแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ
ขั้นที่ 3 ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา (Solution Design)
เป็นขั้นตอนของการออกแบบขึ้นงานหรือวิธีการโดยการประยุกต์ใช้ข้อมูลที่ได้จากการรวบรวมในขั้นที่ 2 ซึ่งขั้นตอนนี้จะช่วยสื่อสารแนวคิดของการแก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจโดยผ่านวิธีการต่าง ๆ เช่น การร่างภาพ และการอธิบาย
ขั้นที่ 4 วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา (Planning and Development)
เป็นขั้นตอนการวางลำดับขั้นตอนการสร้างชิ้นงานหรือวิธีการ จากนั้นจึงลงมือสร้างหรือพัฒนาขึ้นงานหรือวิธีการ เพื่อนำผลลัพธ์ที่ได้ไปใช้ในขั้นตอนต่อไป
ขั้นที่ 5 ทดสอบ ประมินผลและปรับปรุงแก้ไขวิธีการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน (Testing, Evaluation and Design Improvement)
เป็นขั้นตอนของการตรวจสอบและประเมินชิ้นงานวิธีการที่สร้างขึ้นว่า สามารถทำงานหรือใช้ในการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการได้หรือไม่ มีข้อบกพร่องอย่างไรและควรปรับปรุงแก้ไขชิ้นงานหรือแบบจำลองวิธีการในส่วนใดควรปรับปรุงแก้ไขอย่างไร แล้วจึงดำเนินการปรับปรุงแก้ไขในส่วนนั้นจนได้ขึ้นงานวิธีการที่สอดคล้องตามรูปแบบที่ออกแบบไว้
ขั้นที่ 6 นำเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน (Presentation)
จากที่กล่าวมาข้างต้นกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม 6 ขั้นตอน เป็นแนวคิดที่สามารถนำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนได้โดยผู้สอนสามารถพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยนำกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมขั้นที่ 1 ระบุปัญหามาเป็นส่วนของขั้นนำของการจัดการเรียนรู้ซึ่งเป็นการกำหนดสถานการณ์ปัญหาให้ผู้เรียน เพื่อที่ผู้เรียนจะได้ทำการวิเคราะห์เพื่อกำหนดปัญหาหรือความต้องการจากสถานการณ์นั้น สำหรับขั้นที่ 2 ถึงขั้นที่ 6 ของกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมสามารถจัดอยู่ในส่วนของขั้นพัฒนาผู้เรียน ส่วนขั้นสรุปของการเรียนเป็นการสรุปร่วมกันถึงองค์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์
น.ส เดือนฉาย สมสอาด เลขที่16