อิเล็กทรอนิกส์

คาปาซิเตอร์(Capacitor)

ไดโอด(Diode)

ทรานซิสเตอร์ (Transistor)

ไอซี (IC)

ตัวต้านทาน(Resistor)

image

image

image

image

image

ตัวเหนี่ยวนำ(Inductor)

image

คริสตัล (Crystal)

ไดโอดเปล่งแสง(LED)

image

image

เซนเซอร์(Sensor)

สวิตซ์ (Switch)

image

image :

จัดทำโดย

เด็กหญิง จีระพร ยุ่นดร

เด็กหญิง อริสา สนเค

คุณครู

ขนิษฐา ท้าวอิ่ม

จิรพัฒน์ เฟื่องแก้ว

คือ อุปกรณ์ซึ่งทำหน้าที่สำหรับตรวจจับปริมาณ และสิ่งต่าง ๆ ที่มีการเปลี่ยนแปลงในสภาพแวดล้อมแล้วแปลงเป็นสัญญาณไฟฟ้า

คือ อุปกรณ์ที่ใช้ในระบบเครือข่ายแบบมีสายต่อสัญญาณในเชื่อมต่อกับอุปกรณ์อื่นโดยใช้สายแลนแบบอีเทอร์เน็ต(Ethernet)เป็นตัวกลางในการส่ง-รับข้อมูล

เป็นแม่เหล็กไฟฟ้าอันประกอบด้วยขดลวดที่มีแกนกลางเป็นแม่เหล็กหรือไม่ก็ได้ ซึ่งจะสร้าง สภาวะแม่เหล็กเมื่อมีกระแสไหลผ่าน สภาวะแม่เหล็กทำให้มีการสะสมพลังงานซึ่งต้องใช้เวลาในการบรรจุเข้าหรือคาย ออกจนหมด นอกจากตัวเหนี่ยวนำจะต้านกระแสความถี่สูงแล้ว ยังป้องกันการรบกวนจากความต่างศักย์ภายนอกที่เล็ด

คือ ไดโอดซึ่งสามารถเปล่งแสงออกมาได้แสงที่เปล่งออกมาประกอบด้วยคลื่นความถี่เดียวและเฟสต่อเนื่องกัน ซึ่งต่างกับแสงธรรมดาที่ตาคนมองเห็น อันประกอบด้วยคลื่นซึ่งมีเฟสและความถี่ต่าง ๆ ดันมารวมกัน

เป็นส่วนประกอบหนึ่งของการออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์สำหรับบอร์ด Arduino ซึ่งทำหน้าที่สร้างสัญญาณคลื่นความถี่คงที่ในการเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อื่นๆ

เป็นวงจรที่นำเอาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic) ชนิดต่างๆ ได้แก่ ตัวต้านทาน (Resistor) ตัวเก็บประจุ ไดโอด (Diode) ทรานซิสเตอร์ (Transistor) และองค์ประกอบต่างๆ ของวงจรมาต่อรวมกัน โดยการย่อส่วนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ดังกล่าวให้มาอยู่บนแผงวงจรให้ขนาดเล็กลง

ตัวต้านทานที่ต่ออยู่ในวงจรไฟฟ้าทำหน้าที่ในการต้านการไหลของกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน ทำด้วยลวดต้านทานหรือถ่านคาร์บอน เป็นต้น ในกรณีที่ มีความต้านทานมากจะยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้น้อยลง หากกลับกัน หากมีความต้านทานน้อยจะยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้มาก ลดแรงดัน และจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจรตัวต้านทานมีรูปแบบและขนาดแตกต่างกันตามลักษณะของการใช้งาน นอกจากนี้ยังแบ่งออกเป็นชนิด ค่าคงที่ และ ชนิดปรับค่าได้

เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อย่างหนึ่ง ทำหน้าที่เก็บพลังงานในรูปสนามไฟฟ้าที่สร้างขึ้นระหว่างคู่ฉนวน โดยมีค่าประจุไฟฟ้าเท่ากัน แต่มีชนิดของประจุตรงข้ามกัน

เป็นอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำที่มีคุณสมบัติขยาย หรือสลับสัญญาณไฟฟ้าหรือพลังงานไฟฟ้าสามารถประยุกต์ใช้งานได้หลายอย่าง เช่น ใช้ขยายสัญญาณ (Amplifier) ทำหน้าที่เป็นสวิตช์ชิ่ง (Switching) กำเนิดสัญญาณใช้รักษาแรงดันไฟฟ้าให้คงที่

เป็นอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ ที่ได้เกิดจากสารกึ่งตัวนำชนิดพี (P-Type) และสารกึ่งตัวนำชนิดเอ็น (N-Type) มาต่อชนกัน เรียกว่า รอยต่อพี-เอ็น (P-N Junction) ไดโอดมีคุณสมบัติ คือ สามารถควบคุมกระแสไฟฟ้าจากภายนอกให้ไหลผ่านได้ทิศทางเดียว ส่วนกระแสที่ไหลทิศทางตรงข้ามกันจะถูกกั้น สามารถนำไดโอดมาใช้เป็นตัวเรียงกระแสไฟฟ้า(Rectifier) ทำหน้าที่เปลี่ยนแปลงกระแสไฟฟ้าสลับให้เป็นไฟฟ้ากระแสตรง และใช้เป็นตัวแยกสัญญาณในเครื่องรับวิทยุได้

แผงทดลองวงจร (protoboard)

image

เป็นบอร์ดที่ใช้ทดลองวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ลักษณะเป็นแผ่นพลาสติกหนาสีขาว บนแผ่นมีรูเรียงกันจำนวนมาก ภายในรูมีตัวนำไฟฟ้าซึ่งเชื่อมต่อกันในรูปแบบที่มีการกำหนดไว้ เวลาทดลองก็เสียบขาของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ลงไปให้ตัวนำภายในเชื่อมวงจรถึงกัน

click to edit