Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Liver abcess(ฝีในตับ) - Coggle Diagram
Liver abcess(ฝีในตับ)
-
การวินิฉัย
-
การตรวจเลือด
- การตรวจค่าเอนไซม์ตับ (Liver function tests): เพื่อตรวจสอบการทำงานของตับว่ามีความผิดปกติหรือไม่
- การตรวจค่าการอักเสบ (Inflammatory markers): เช่น C-reactive protein (CRP) และ erythrocyte sedimentation rate (ESR) ซึ่งมักจะสูงขึ้นเมื่อมีการอักเสบ
- การนับจำนวนเม็ดเลือดขาว (White blood cell count): ซึ่งมักจะสูงขึ้นในกรณีที่มีการติดเชื้อ
-
-
-
การรักษา
การรักษาด้วยยา
การให้ยาปฏิชีวนะ ระยะเวลาการให้ยาปฏิชีวนะขึ้นกับขนาดของฝี ในช่วงแรกจะเป็นการให้ยาทางหลอดเลือดดำ 10-14 วัน หากอาการดีขึ้นก็เปลี่ยนเป็นยาชนิดรับประทานต่อ ร่วมการรักษาด้วยการ ให้ยาปฏิชีวนะ ประมาณ 4-6 สัปดาห์
-
การรักษาด้วยการผ่าตัด
การผ่าตัดเป็นข้อบ่งชี้ลดลงอย่างมากเนื่องจากมีแผลผ่าตัดขนาดใหญ่เสี่ยงต่ออัตราทุพพลภาพสูง ใช้ระยะเวลาพักฟื้นนาน เสียค่าใช้จ่ายสูง จึงคงเหลือความจำเป็นผ่าตัดเฉพาะในกรณีเมื่อฝีแตกรั่วเข้าช่องท้อง เยื่อบุช่องท้องอักเสบ หรือรั่วเข้าเยื่อหุ้มปอดและเยื่อหุ้มหัวใจ ฝีก้อนใหญ่ ให้ยา เจาะ หรือใส่ PCD ไม่ได้ผล ฝีหลายก้อนใน lope ข้างใดข้างหนึ่งให้ยาไม่ได้ผล ทำ hepatic resection ได้ มีโรคร่วมที่ต้องรักษาด้วยเช่น gallstone, CBD stone หรือ intraperitoneal infection อื่น
พยาธิสภาพ
ร่างกายได้รับเชื้อผีบิดอะมีบาและแบคที่เรีย เข้าไปทางระบบการไหลเวียนในตับ (Portal System) และเข้าไปที่ตับเมื่อเข้าไปครั้งแรกจะถูกทำลายโดยReticulo endothelial cell และในครั้งต่อไปเชื้อที่เข้าไปใหม่จะทำให้เกิดการตาย และเกิดเป็นผีเล็กๆ ในตับ เชื้อบิดนี้จะแบ่งตัวและอุดตันหลอดเลือดปอร์ทัลเล็กๆ ทำให้เกิดการตาย (Infarction) และมีโปรที่ โอลัยติค เอ็นไซม์ (Proteolytic Enzyme) ในตับและจะทำลายเนื้อตับได้ทำให้เกิดหนองขนาดโตขึ้นเรื่อยๆถ้าดูจากกล้องจุลทรรศน์จะพบว่าหนองเป็นเซลล์ที่ตายแล้ว และมีเม็ดเลือดขาวมากกว่าเม็ดเลือดแดง
การตรวจร่างกาย
-
-
-
4.ตัวเหลืองตาเหลืองพบได้ แต่ไม่บ่อย มักพบในรายที่มีไข้สูงหรือในกรณีที่มีฝีขนาดใหญ่ เกิดจากฝีไปกดบริเวณท่อน้ำดีขนาดใหญ่ เกิดการอุดตันหรือทะลุเข้าไปในท่อทางเดินน้ำดีเกิดท่อน้ำดีอักเสบ (Cholangitis)
-
-
-
-