Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักเศรษฐศาสตร์, นางสาวนิตยา แสงสิน ม 5/6 เลขที่ 35 - Coggle Diagram
หลักเศรษฐศาสตร์
การกำหนดราคาในระบบเศรษฐกิจ
ราคาดุลยภาพ
ภาวะดุลยภาพ
เป็นภาวะที่ความต้องการซื้อ(อุปสงค์)และความต้องการขาย(อุปทาน)เท่ากัน
ภาวะไม่ดุลยภาพ
เป็นภาวะที่ความต้องการซื้อ(อุปสงค์)และความต้องการขาย(อุปทาน)ไม่เท่ากัน
อุปสงค์(Demand)
ความต้องการซื้อ ปริมาณสินค้าที่ผู้บริโภคต้องการซื้อแปรผกผันกับระดับสินค้า
อุปทาน(Supply)
ความต้องการขาย ปริมาณสินค้าจะมีความสัมพันธ์ในทางเดียวกันกับสินค้าชนิดนั้น
การกำหนดราคาในสังคมไทย
ในไทยใช้ระบบเศรษฐกิจแบบผสมซึ่งเอกชนมีบทบาทมากแต่รัฐเข้าไปแทรกแซงได้เป็นบางครั้ง
ระบบเศรษฐกิจของโลก
ความหมาย
เป็นระบบที่เกิดจากการรวมหน่วยเศรษฐกิจ
องประกอบหลัก
หน่วยเศรษฐกิจที่เป็นภาคเอกชน
หน่วยครัวเรือน
หน่วยธุรกิจ
หน่วยเศรษฐกิจที่เป็นภาครัฐบาล
ระบบเศรษฐกิจ
สังคมนิยม
สังคมนิยม
เอกชนมีบทบาทแต่รัฐเข้ามาควบคุมและแทรกแซง
คอมมิวนิสต์
รัฐบาลเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตทุกชนิด
ผสม
เอกชนมีบบาทมากแต่รัฐสามารถเข้าไปแทรกแซงได้
ทุนนิยม
เอกชนมีบทบาทมากที่สุด
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ประเภทของตลาด
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
เป็นตลาดที่มีผู้ซื้อ ผู้ขายจำนวนมากและต่างมีอิสระในการวางแผนนโยบายการซื้อ ขาย
ตลาดผูกขาดน้อยร้าย
เป็นตลาดที่มีผู้ขายมากกว่า1รายแต่มีจำนวนไม่มาก
ตลาดผูกขาด
ผู้ขายมีอำนาจผูกขาดและเป็นผู้กำหนดราคาเอง
ความหมาย
การตกลงซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ รวมถึงปัจจัยการผลิต
ตลาดตามลักษณะการซื้อ ขาย
ตลาดกลาง
เป็นการซื้อแขายสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งโดยเฉพาะหรือหลายชนิด
ตลาดค้าส่ง
เป็นการซื้อขายสินค้าโดยผู้ซื้อนำไปขายต่อในตลาดค้าปลีก
ตลาดค้าปลีก
เป็นการซื้อขายสินค้าใหผู้บริโภคนำไปบริโภคโดยตรง
ตลาดซื้อขายผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์
เป็นการซื้อขายสิค้าและบริการผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
การกำหนดค่าจ้าง อัตราค่าจ้างแรงงานในสังคมไทยและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ตลาดแรงงาน
อุปสงค์แรงงาน คือ นายจ้าง
อุปทานแรงงาน คือ ลูกจ้าง
ค้าจ้างดุลยภาพ คือ ค่าจ้างที่ทั้งสองฝ่ายพอใจ
การแทรกแซงกลไกตลาดในตลาดแรงงาน
รัฐแทรกแซงด้วยการกำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ
การแทรกแซงจากสหภาพแรงงาน
การกำหนดค่าจ้างในสังคม
ค่าจ้าง
เงินที่นายจ้างและลูกจ้างตกลงกันโดยจ่ายเป็นค่าตอบแทนในการทำงาน
การกำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำในสังคมไทย
กฎหมายค่าจ้างที่สำคัญ
อัตราค่าจ้างขั้นต่ำ
หน่วยงานที่กำหนดค่าจ้าง
ปัญหาและผลกระทบจากการกำหนดอัตราค่าจ้างในสังคมไทย
ปัญหาที่เกิด
ความสมดุลระหว่างอัตราค่าจ้างขั้นต่ำกับอัตราเงินเฟ้อ
นายจ้างหลีกเลี่ยงการจ่ายค่าจ้าขั้นต่ำให้แก่ลูกจ้าง
ผลกระทบจากกการกำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ
ผลดี เป็นการกระจายรายได้สู่ผู็ที่มีรายได้ต่ำ
ผลเสีย อาจจะเกิดภาวะเงินเฟ้อ
บทบาทของรัฐในการแทรกแซงราคาและการควบคุมราคา
การแทรกแซงด้วยการกำหนดราคาขั้นสูง
เป็นการกำหนดราคาต่ำกว่าดุลยภาพเพื่อให้ผู้บริโภคสามารถซื้อสินค้าได้ถูกลงแต่ถ้าหารัฐไม่แทรกแซงอาจเกิดภาวะเงินเฟ้อ
ผลกระทบที่สำคัญ
เกิดภาวะอุปสงค์ส่วนเกิน
เกิดภาวะตลาดมืด
การแทรกแซงราคาด้วยการกำหนดราคาขั้นต่ำ
เป็นการกำหนดราคาสูงกว่าดุลยภาพเนื่องจากผลผลิตมีมากกว่าความต้องการของตลาด
ผลกระทบที่สำคัญ
เกิดภาวะอุปทานส่วนเกิน
รัฐอาจจะต้องใช้มาตรการให้เงินอุดหนุน
นางสาวนิตยา แสงสิน ม 5/6 เลขที่ 35