Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน - Coggle Diagram
บทที่ 3 การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
3.1 การเสริมสรร้างความเข้มแข็งของชุมชน
ทุนของชุมชนมี 4 ประเภท
1.ทุนมนุษย์ คือคุณสมบัติด้านสุขภาพอนามัย อายุขัย การศึกษาภูมิปัญญา ขีดความสามารถ ฐานะเศรษฐกิจของคนในครัวเรือน
2.ทุนทางสังคม การยอมรับ ความเชื่อถือ วัฒนธรรมที่สืบทอดกันมา
3.ทุนกายภาพ เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นมาเพื่ออำนวยความสะดวกในการดำรงชีวิต หรือปัจจัยพื้นฐานในการผลิตที่สนับสนุนการดำรงชีวิต เช่น การคมนาคม ระบไฟฟ้า ประปา ระบบพลังงาน กการสื่อสาร โบราณวัตถุ
4.ทุนธรรมชาติ เป็นการประกอบอาชีพของคนในชุมชน เช่น ป่าไม้ ดิน น้ำ ภูเขาทะเล แร่ธาตุ พืชพันธ์ธัญญาหาร
ชุมชนเข้มแข็ง หมายถึง การรวมตัว ร่วมคิด ร่วมทำ การเรียนรู้ ร่วมกันในการปฏิบัติจะทำให้เกิดผู้นำตามธรรมชาติ (นพ. ประเวศ วะสี,2561)
ลักษณะของชุมชนเข้มแข็ง
1.สมาชิกของชุมชนมีความเชื่อมั่นในศักยภาพของตนและชุมชนที่จะแก้ไขปัญหาและพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ของตนเอง
2.ชุมชนพร้อมที่จะจัดการปัญหาของชุมชนร่วมกัน
3.มีการเลือกผู้นำ ผู้แทนชุมชนด้วยตนเอง
4.ตัดสินใจและทำงานร่วมในประเมินสภาพปัญหาชุมชนร่วม
5.สมาชิกชุมชนมีส่วนร่วมในประเมินสภาพปัญหาชุมชนร่วม กำนหดอนาคตของชุมชนร่วมคิด ตัดสินใจ ดำเนินงาน ติดตามประเมินผล
6.เรียนรู้ที่จะพัฒนาตนเองและชุมชนและทำงานร่วมกัน
7.มีแผนในการพัฒนาชุมชนทุกด้าน
8.การพึ่งพาภายนอกเพื่อที่จะให้ชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้
9.มีเครือข่ายร่วมกับหมู่บ้านอื่น หน่วยงานอื่นๆ
10.มีการแก้ไขปัญหาและพัฒนาอย่างเป็นระบบอย่างต่อเนื่องโดยใช้กระบวนการชุมชน
ลัษณะของชุมชนเข้มแข็ง โดยสรุป 4 ประการ
1.ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Learning Community)
2.เป็นชุมชนที่มีการจัดการตนเอง (Community Management) ด้วยระบบการบริหารจัดการในกิจกรรมที่สำคัญ 4 ประการ คือ การวางแผน การจัดกระบวนการขององค์กรภายในชุมชน การลงมือปฏิบัติตามแผนงาน และมีการประเมิน
3.ชุมชนเป็นจิตวิญญาณ (Spirituality) ชุมชนมีจิตสำนึก มีจิตวิญญาณ ซึ่งหมายความว่าความภักดี ความรัก ความหวงแหน ความรู้สึกเป็นเจ้าของในชุมชน
4.เป็นชุมชนที่มีสันติภาพ (Peaceful) คือชุมชนที่มีความสบสุขและคนในชุมชนมีจิตใจที่เยือกเย็น มีคุณภาพ และมีคุณธรรม
องค์ประกอบของชุมชนเข้มแข็ง
มีการรวมตัวเป็นองค์กรชุมชน
มีเป้าหมายและผลประโยชน์สาธารณะร่วมกัน
ร่วมตัดสินใจและร่วมกันรับผิดชอบ
ใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
เครือข่ายความร่วมมือ
การมีกิจกรรมสาธาณะประโยชน์อย่างต่อเนื่อง
การบริหารจัดการ
มีการเสริมสร้างผู้นำ
ปัจจัยที่่ส่งผลต่อความเข้มแข็งของชุมชน
1.ผู้นำในชุมชน ผู้นำที่มีความรู้มีวิสัยทัศน์ที่ก้าวไกล มีความเเสียสละ และอดทน
2.ระบบเศรษฐกิจแบบพึ่งตนเอง ชุมชนที่มีการบริหารจัดการที่ดี ภายในชุมชนที่ร่วมมือกันโดยมีการบริหารจัดการที่เน้นการพึ่งตนเอง
3.ระบบความสัมพันธ์เชิงสังคมที่แน่นแฟ้น ลักษณะที่อยู่รวมมกันเป็นกลุ่มที่มีความสามาัคคี มีความปรองดอง ช่วยเหลือเกื้อกูล
4.การบริหารจัดการที่ดีเพื่อเกิดการพัฒนาต่อเนื่อง
ดัชนีความเข้มแข็งของชุมชน
1.ความสามารถในการพึ่งพาตนเองของชุมชน มีอิสระที่กำหนดทางเลือกในการจัดการปัญหาและดำเนินกิจกรรมต่างๆ
2.ความมั่นคงปลอดภัยเป็นมิติหนึ่งที่มีความสำคัญของความเข้มแข็งของชุมชน
3.การมีวิสัยทัศน์ของชุมชน การที่คนในชุมชนมีความเข้าใจในปัญหาที่ชุมชนกำลังเผชิญ
4.ความรักและหวงแหนชุมชน การที่คนในชุมชนมีความรู้สึกเป็นเจ้าของชุมชน
กระบวนการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
ขั้นตอนที่ 1 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์หรือการเตรียมคน
ขั้นตอนที่ 2 กำหนดประเด็กปัญหาของชุมชนและการพัฒาทางเลือก เน้นกระบวนการดังนี้ 2.1 กระบวนการศึกษาและวิเคราะห์ชุมชน 2.2 การพัฒนาทางเลือกเพื่อดำเนินกิจกรรม
ขั้นตอนที่ 3 การดำเนินกิจกรรมสาธารณะสุขในกรณีที่เป็นปัญหา
ขั้นตอนที่ 4 กระบวนการเสริมสร้างชุมชนให้เข้มแข็งผ่านกระบวนการร่วมมือของชุมชนโดยผ่านกิจกรรมหลัก คือ 1.กระบวนการพัฒนาศักยภาพของประชาชน 2.ส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน
แนวคิด แนวทาง การดำเนินงานให้เกิดความเข้มเเข็ง
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วม (AIC)
1.A (Appreciation) เป็นการสร้างความรู้ความเข้าใจสภาพของหมู่บ้านและการสร้างภาพหมู่บ้านพัฒนา
A1 : เป็นการวิเคราะห์สภาพของชุมชนหรือหมุ่บ้านอย่างที่เป็นจริง
A2 : เป็นการสร้างหมู่บ้านที่พึงปราถนา หรือเป็นภาพที่คนในชุมชนจินตนาการอยากให้เป็น
2.I (Influence) การวิเคราะห์โดยพิจารณาร่วมเพื่อคัดเลือกและจัดลำดับความสำคัญของแผนงาน/กิจกรรมในการแก้ไขปัญหา
I1 : การคิดค้นวิธีการโครงการหรือแผนงาน/กิจกรรมในการแก้ไขปัญหา
I2 : การคัดเลือกและจัดลำดับ ความสำคัญของโครงการหรือแผนงาน/กิจกรรมในการแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาหมู่บ้าน
3.C (Control) กำหนดแนวทางปฏิบัติ โดยนำเอาโครงการหรือแผนงานที่ได้ตกลงกันในขั้นตอน I 2. มากำหนดกิจกรรมการปฏิบัติอย่างละเอียดว่ามีหลักการและเหตุผลอย่างไร
กระบวนการวิเคราะห์ภาวะแวดล้อม (SWOT Analysis)
กระบวนการวิเคราะห์มุมองและสภาพงานองค์กร (ฺBalanced score card)
กระบวนการสร้างพลังอำนาจ (Empowerment)
กระบวนการของการแสดงการยอมรับ ชื่นชม การเสริมสร้างความสามารถบุคคลในการแก้ไขปัญหา
3.2 การใช้นวัตกรรมสุขภาพและการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลตนเอง และการใช้นวัตกรรมปิงปองจราจร7 สี ในการดูแลโรคเรื้อรังในชุมชน
รูปแบบของการมีส่วนร่วมของชุมชน Cohen and Uphoff(1981) แบ่งออกเป็น 4 ระดับ
1.การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ (Decision Making)ประกอบด้วยการริเริ่มในการตัดสินใจ การ
ดำเนินการตัดสินใจและตัดสินใจปฏิบัติการ
2.การมีส่วนร่วมปฏิบัติการ (Implementation) ประกอบด้วยการสนับสนุนในด้าน
ทรัพยากร การประสานความร่วมมือ
3.การมีส่วนร่วมในผลประโยชน์ (Benefits) ไม่ว่าจะเป็นประโยชน์ทางด้าน
วัตถุผลประโยชน์ทางสังคม หรือผลประโยชน์ส่วนบุคคล
4.การมีส่วนร่วมในการประเมินผล (Evaluation)
กระบวนการของการมีส่วนร่วม
1.การวางแผน
การดำเนินกิจกรรม
การมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์
การมีส่วนร่วมในการประเมินผลเป็นการเปิดโอกาส
ระดับของการมีส่วนร่วม
ระดับที่ไม่มีส่วนร่วม (Non-participation)
1.1 ประชาชนเป็นผู้รอรับคำสั่ง (Manipulation) คือ ประชาชนถูกเชิญให้เข้าร่วมกิจกรรม
1.2 ประชาชนเป็นผู้รับบริการ (Therapy) คือ ประชาชนเข้าร่วมในกิจกรรมกลุ่มเพื่อ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
ระดับที่ประชาชนมีส่วนร่วมปานกลาง (Degree of Tokenism)
2.1 ประชาชนได้รับการบอกเล่า (Informing) ติดต่อสื่อสารทางเดียว
2.2 ประชาชนได้รับการปรึกษาหารือ (Consultation) คือ ประชาชนได้รับการถามความ
คิดเห็น แต่ไม่มีหลักประกันว่า ความคิดเห็นของประชาชนจะถูกนำไปปฏิบัติ
2.3 ประชาชนได้เข้าร่วมโครงการ (Placation) คือ ประชาชนส่วนหนึ่งมีอำนาจหรือสิทธิ
ในการออกเสียง แต่เป็นเพียงส่วนน้อยในกรรมการ
ระดับที่อำนาจอยู่ที่ประชาชน (Degree of Citizen Power)
3.1 ประชาชนและรัฐมีส่วนเท่า ๆ กัน (Partnership) คือ มีการใช้อำนาจร่วมกันระหว่าง
รัฐบาลและประชาชนอย่างเท่าเทียมกัน
3.2 ประชาชนมีส่วนควบคุมบางส่วน (Delegated Power) คือ ประชาชนมีอำนาจในการ
ตัดสินใจเป็นส่วนใหญ่
3.3 ประชาชนควบคุมเองทั้งหมด (Citizen Control) คือ การที่ประชาชนมีอำนาจในการ
ควบคุมโครงการต่าง ๆ โดยสมบูรณ์
ประเภทของนวัตกรรม
1.นวัตกรรมเชิงผลิตภัณฑ์ (Product Innovation)
2.นวัตกรรมเชิงกระบวนการ(Process Innovation)การประยุกต์ใช้แนวคิด วิธีการหรือกระบวนการ
ใหม่ๆมาใช้ในการทำงานให้เกิดประสิทธิภาพที่ดีขึ้น
3.นวตกรรมเชิงรูปแบบบริการ (Service Model Innovation)
3.3 การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ทรัพยากรและเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชน และการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลประเด็น Complementary and alternative medicine
การใช้ยาที่ถูกต้อง
กลุ่มยารักษาอาการของระบบทางเดินอาหาร ได้แก่ ยาขมิ้นชัน ยาขิง (ขับลม บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ) ยากล้วย ยาฟ้าทะลายโจร (บรรเทาอาการท้องเสีย) ยาชุมเห็ดเทศ ยามะขามแขก
กลุ่มยารักษาอาการของระบบทางเดินหายใจ ได้แก่ ยาฟ้าทะลายโจร
กลุ่มยารักษาแผลในกระเพาะอาหาร ได้แก่ ยากล้วย
กลุ่มยาบรรเทาอาการคลื่นไส้ อาเจียน ได้แก่ ยาขิง
กลุ่มยารักษาอาการทางระบบผิวหนัง ได้แก่ ยาทิงเจอร์ทองพันชั่ง ยาทิงเจอร์พลู ยาบัวบกครีม ยา
เปลือกมังคุด ยาพญายอครีม ยาว่านหางจระเข้เจล ยาเมล็ดน้อยหน่าครีม
กลุ่มยารักษาอาการทางกล้ามเนื้อและกระดูก ซึ่งมีทั้งยารับประทาน ได้แก่ ยาเถาวัลย์เปรียง ยา
สารสกัดจากเถาวัลย์เปรียง
กลุ่มยารักษาอาการระบบทางเดินปัสสาวะ ได้แก่ ยากระเจี๊ยบแดง
กลุ่มยาแก้ไข้ แก้ร้อนใน ได้แก่ ยาบัวบก ยามะระขี้นก ยารางจืด
ยาถอนพิษเบื่อเมา ได้แก่ ยารางจืด
ยาลดความอยากบุหรี่ ได้แก่ ยาหญ้าดอกขาว
การเกิดปฏิกิริยาระหว่างยากับสมุนไพร
1.ปฏิกิริยาทางเภสัชจลนศาสตร์ (Pharmacokinetic interactions)
2.ปฏิกิริยาทางเภสัชพลศาสตร์ (Pharmacodynamic interactions)
การใช้ยาแผนปัจจุบันกับสมุนไพรร่วมกัน
มะขามแขก เกิดปฏิกิริยากับยาขับปัสสาวะ
ขิง แปะก๊วย เกิดปฏิกิริยากับยาต้านการแข็งตัวของเลือด
ขมิ้นชัน เกิดปฏิกิริยากับยารักษามะเร็งทำให้ฤทธิ์ต้านมะเร็งของยาลดลง
โสม เกิดปฏิกิริยากับยาที่ใช้รักษามะเร็ง