Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ขั้นตอนการทำโครงงานออกแบบและเทคโนโลยี ทั้ง 6 ขั้นตอน - Coggle Diagram
ขั้นตอนการทำโครงงานออกแบบและเทคโนโลยี ทั้ง 6 ขั้นตอน
1.การคัดเลือกหวัข้อโครงงาน
โดยทั่วไปเรื่องที่จะนำมาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ มักจะได้มาจากปัญหา คำถาม หรือความสนใจในเรื่องต่าง ๆ จากการสังเกตสิ่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่าง ๆ รอบตัว ปัญหาที่จะนำมาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ได้จากแหล่งต่าง ๆ
2) การไปเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ
1) การอ่านค้นคว้าจากหนังสือ เอกสาร หนังสือพิมพ์ หรือวารสารต่างๆ
3) การฟังบรรยายทางวิชาการ รายการวิทยุและโทรทัศน์ รวมทั้งการสนทนาอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างเพื่อนนักเรียนหรือกับบุคคลอื่นๆ
4) กิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียน
5) งานอดิเรกของนักเรียน
6) การเข้าชมงานนิทรรศการหรืองานประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์
2.การศึกษาค้นควา้จากเอกสารและแหล่งข้อมูล
การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล ซึ่งรวมถึงการขอคำปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิจะช่วยให้นักเรียนได้แนวคิดที่ใช้ในการกำหนดขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น รวมทั้งได้ความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่จะศึกษาจนสามารถใช้ออกแบบและวางแผนดา เนินการทำโครงงานนั้นได้อย่างเหมาะสม ในการศึกษาจะต้องได้คำตอบว่า
จะทำ อะไร
ทำไมต้องทำ
ต้องการให้เกิดอะไร
ทำอย่างไร
ใช้ทรัพยากรอะไร
ทำกับใคร
เสนอผลอย่างไร
6.นำเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน
เป็นการนำเสนอแนวคิดและขั้นตอนการแก้ปัญหาของการสร้างชิ้นงานหรือการพัฒนาวิธีการ ให้ผู้อื่นเข้าใจและได้ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาต่อไป กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมีชั้นตอนทั้งสิ้น 6 ขั้นตอนดังนี้
ขั้นระบุปัญหา (Problem Identification)
ขั้นออกแบบวิธีการแก้ปัญหา (Solution Design)
ขั้นรวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหา (Related Information Search)
ขั้นวางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา (Planning and Development)
ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแก้ไขวิธีการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน (Testing Evaluation and Design Improvement)
นำเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน (Presentation)
3.การจัดทําข้อเสนอโครงงาน
การจัดทำข้อเสนอโครงงานเป็นการจัดทำเค้าโครงของโครงงานเพื่อเสนอครูที่ปรึกษา โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้
ศึกษาค้นค้วาเอกสารอ้างอิง และรวบรวมข้อมูลที่ได้จากผู้ทรงคุณวุฒิ
วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อกำหนดขอบเขตและลักษณะของโครงงานที่จะพัฒนา
ออกแบบการพัฒนา มีการกำหนดลักษณะของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์และตัวแปลภาษาโปรแกรม และอุปกรณ์ต่างๆ ที่ต้องใช้
กำหนดตารางการปฏิบัติงานของการจัดทำเค้าโครงของโครงงาน ลงมือทำโครงงาน และสรุปรายงานโครงงาน โดยกำหนดช่วงเวลาอย่างกว้าง
ทำการพัฒนาโครงงานขั้นต้น เพื่อศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้น โดยอาจจะทำการพัฒนาส่วนย่อยๆ บางส่วน ตามที่ได้ออกแบบไว้แล้ว นำผลจากการศึกษาในช่วงนี้ไปปรับปรุงแผนการทดลองที่ออกแบบไว้ในครั้งแรกให้เหมาะสมมากยิ่งขึ้น
เสนอเค้าโครงของโครงงานคอมพิวเตอร์ต่อครูที่ปรึกษา เพื่อขอคำแนะนำและปรับปรุงแก้ไขเพราะในการวางแผนการศึกษาพัฒนา ความคิดของนักเรียนอาจยังไม่ครบคลุมทุกด้าน เนื่องจากยังขาดประสบการณ์ จึงควรถ่ายทอดความคิดที่ได้ศึกษาและบันทึกไว้ให้ครูทราบเพื่อรับคำแนะนำ และนำไปปรับใช้ให้เกิดความเหมาะสม
การลงมือพัฒนาโครงงาน
จัดประชุมระดมความคิด วางแผน ออกแบบชิ้นงานร่วมกัน
แบ่งงาน มอบหมายงานให้ผู้รับผิดชอบ
บันทึกในแบบบันทึกต่างๆ ที่ครูกำหนดอย่างสม่ำเสมอ เช่น Log book , รายงานความก้าวหน้าของโครงงาน เป็นต้น
สร้างผลงาน อย่างถูกต้อง สวยงาม มีคุณภาพ
การจัดทํารายงาน
การเรียบเรียงเนื้อเรื่อง
การค้นคว้าและรวบรวมแหล่งค้นคว้า
การเลือกเรื่องหรือหัวข้อ
การวางโครงเรื่อง
การอ่านและจดบันทึกข้อมูล
การเขียนบรรณานุกรมหรือเอกสารอ้างอิง
การเขียนส่วนประกอบอื่นๆ (ปกนอก หน้าปกใน คานา สารบัญ)