Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
องค์ประกอบและหลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์, ( (), ) - Coggle Diagram
องค์ประกอบและหลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์และองค์ประกอบต่าง ๆ
โดย มี 4 หน่วย
2.หน่วยประมวลผลกลาง - (Central Processing Unit: CPU) : ทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลตามชุดคำสั่งที่ซอฟต์แวร์ส่งมา
1.หน่วยรับเข้า - (Input unit) :ทำหน้าที่รับข้อมูล
เข้าในระบบ
3.หน่วยความจำ - (Memory Unit)
4.หน่วยแสดงผล - (Output unit) : ทำหน้าที่แสดงผลข้อมูล
ฮาร์ดแวร์เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์และองค์ประกอบต่างๆ ซึ่งแบ่งการทำงานเป็นหน่วยต่าง ๆ
ซอฟต์เเวร์(Software)
ซอฟต์แวร์ระบบ (System software)เป็นซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้ควบคุมฮาร์ดแวร์
โปรแกรมระบบปฏิบัติการ (Operating System)
เป็นโปรแกรมที่จัดการให้คอมพิวเตอร์ติดต่อกับฮาร์ดแวร์และโปรแกรมปรยุกต์อื่นๆ ที่ติดตั้งไว้ในระบบเมื่อเปิดเครื่อง
ข้อดีและข้อเสียของระบบปฏิบัติการ
ข้อดี
MAC OS:มีความเสี่ยงเรื่องมัลแวร์ต่ำ
Windowsใช้งานง่าย เนื่องจากใช้การติดต่อกับผู้ใช้งานด้วยภาพและสัญลักษณ์
Linux:เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานไม่จำเป็นต้องมีความต้องการด้านระบบสูง
ข้อเสีย
Mac OS:มีฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้งานจำกัด
Windows:มีความเสี่ยงเรื่องมัลแวร์มากกว่าระบบปฏิบัติการอื่นๆ
Linux:การใช้งานค่อนข้างซับซ้อนสำหรับผู้ใช้งานทั่วไป
โปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utility Program)
เป็นซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่เฉพาะอย่าง เพื่อจัดการงานพื้นฐานและบริการต่างๆ เช่น การจัดเรียงข้อมูล การรวมแฟ้มที่เรียงลำดับแล้วเข้าด้วยกันหรือย้ายข้อมูลในอุปกรณื ไปอีกอุปกรณ์ รวมทั้งใช้จัดการกับฮาร์ดแวร์โดยตรง มี 2 ประเภท
โปรแกรมอรรถประโยชน์สำหรับระบบปฏิบัติการ (OS utility programs) เป็นโปรแกรมที่ติดตั้งมาพร้อมกับระบบปฏิบัติการอยู่แล้ว อำนวยความสะดวกในการทำงานกับฮาร์ดแวร์
1.1โปรแกรมจัดการไฟล์ (File manager)
1.2โปรแกรมยกเลิกการติดตั้งโปรแกรม(Uninstaller)
1.3โปรแกรมสแกนดิสก์(Disk Scanner)
1.4โปรแกรมจัดเรียงพื้นที่จัดเก็บข้อมูลของฮาร์ดดิสก์(Disk defragmenter)
1.5โปรแกรมรักษาหน้าจอ (Screen saver)
2.โปรแกรมอรรถประโยชน์อื่นๆ (Standalone utility programs)เป็นโปรแกรมที่ช่วยให้เครื่องคอมพิวเตอร์ ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.1โปรแกรมบีบอัดไฟล์(File compression utility)
2.2โปรแกรมไฟร์วอลล์(Firewall)
2.3โปรแกรมป้องกันไวรัส(Anti virus program)
2.ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application software) เป็นซอฟตแวร์มีผู้พัฒนาข้ึนมาเพื่อใช้
ทางานเฉพาะทาง
1.ซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์(Commercial ware)
2.ฟรีแวร์(Freeware)
3.แชร์แวร์(Shareware)
4.โอเพนซอร์ส(Open Source)
โปรแกรมที่นิยมใช้กันทั่วไป(General purpose software)
1.โปรแกรมประมวลผลคำ
2.โปรแกรมตารางคำณวน
3.โปรแกรมฐานข้อมูล
4.โปรแกรมนำเสนอ
5.โปรแกรมประชุมออนไลน์
6.โปรแกรมค้นดูเว็บ (Web browser)
ซอฟต์แวร์สำเร็จเป็นซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้เฉพาะงาน มีลิขสิทธิ์ของผู้พัฒนา เช่นโปรแกรมบัญชี
มัลแวร์(Malware) ย่อมาจาก Malicious Software หมายถึงโปรแกรมประสงค์ร้ายที่เข้ามาโจมตีระบบ แบ่งเป็น 9 ประเภท
Adware เป็นโปรแกรที่เมื่อติดตั้งไปแล้วจะมีโฆษณาเด้งขึ้นมาโดยอัตโนมัติ
ฺBot เป็นซอฟต์แวร์ ที่สร้างขึ้นมาเพื่อทำบางอย่างอัตโนมัติ
Bug เกิดทาจากความผิดพลาดของโปรแกรมเมอร์
Ransomware ทำให้ไฟล์ไม่สามารถเปิดได้ ถ้าต้องการใช้ต้องจ่ายเงินค่าไถ่ให้กับ Hacker
Rootkit สามารถควบคุมเครื่องจากระยะไกล มีคุณสมบัติในการลบหรือหลบซ่อนจึงตรวจจับไม่ได้
Spyware เป็นซอฟต์แวร์ที่จะบันทึกข้อมูลในเครื่องแล้วส่งให้ Hacker
Trojan Horse เป็นโปรแกรมที่เหมือนโปรแกรมปกติ แต่กลับเปิดช่องโหว่ให้ Hacker
Virus สามารถคัดลอกตัวเองกระจายไปยังเครื่องอื่นๆ
Worm สร้างความเสียหายในเครื่องโดยแพร่กระจายผ่าน Network
3.ข้อมูล(data)
ความหมาย
ข้อเท็จจริงที่สื่อความหมายที่อยู่ในรูปของข้อความ
ข้อมูลสถิติ
เช่น
งบประมาณต่างๆ
จำนวนเเละประวัติคนไข้ในโรงพยาบาล
สติถิเงินเข้าเงินออกของบัญชีธนาคาร
ข้อมูลส่วนบุคคล
เช่น
รหัสอีเมลต่างๆ
ใบสุติบัตร
ที่อยู๋
เลขบัตรประชาชน
ข้อมูลสำคัญ
เช่น
ข้อมูลส่วนตัวผู้เข้าใช้หมอพร้อม
ข้อมูลจำนวนผู้ป่วยในโรค
4.การสื่อสารออนไลน์
ความหมาย
การพูดคุยข้อมูลหรือความคิดโดนใช้ระบบออนไลน์เเเละเผยเเพร่ข้อมูลในรูปอักษร
เช่น
ไลน์
Instagram
ในรูปเเบบเดียวกันกับMessager
messager
5.บุคคลากรทางคอมพิวเตอร์(People ware) หมายถึงผู้ปฏิบัติงานในด้านคอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่ควบคุมและดูแลระบบให้ทำงานได้ตลอดเวลา
1.ผู้บริหารระบบ (System Manager)
2.นักวิเคราะห์ระบบ (System Analystทำหน้าที่ศึกษาปัญหาของระบบ และหาแนวทางแก้ไขที่คุ้มค่าและมีประโยชน์ มากที่สุด
3.โปรแกรมเมอร์ (Programmer) ทำหน้าที่สร้าวและเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์เพื่อสั่งการให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ
4.เจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติงานเครื่อง (Computer Operator) ทำหน้าที่ติดตั้งโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้บริการ ควบคุมการทำงานและบำรุงรักษา
5.พนักงานข้อมูล (Data Entry Operator) ทำหน้าที่บันทึกข้อมูลลงในคอมพิวเตอร์ตามที่โปรแกรมหรือผู้ใช้โปรแกรมกำหนด