Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อินทรวงศ์ฉันท์ 12 - Coggle Diagram
อินทรวงศ์ฉันท์ 12
ฉันทลักษณ์
คล้ายกับอินทรวิเชียรฉันท์ ใน ๑๐ คำแรก
แต่เปลี่ยนครุลอยตัวสุดท้ายในอินทรวิเชียร (โค) เป็นลหุ กับ ครุ (ช รา) เท่านั้น
-
-
-
-
-
-
-
ประวัติความเป็นมา
อินทรวงศ์ฉันท์” หรือ “อินทวงสฉันท์” เป็นชื่อที่เรียกตามแบบไทย แต่ในคัมภีร์วุตโตทัย ท่านเรียกว่า “อินทรวงสคาถา” เป็นชคตีฉันท์ ฯ
คาถา ๔ บาท ๆ ละ ๑๒ คำ มีสูตรว่า “สา อินฺทวํสา ขลุ ยตฺถ ตา ชรา” แปลความว่า “คาถาที่มี ต คณะ ต คณะ ช คณะ และ ร คณะ ชื่อว่า “อินทรวังสคาถา”
-
คำครุ ลหุ
คำครุ
-
- พยางค์ที่มีมาตราตัวสะกดในทุกมาตรา (ได้แก่ แม่ กก กด กบ กง กน กม เกย และเกอว)
- พยางค์ที่ประสมด้วยสระเสียงยาวเท่านั้น ไม่มีตัวสะกดก็ได้
- พยางค์ที่ประสมด้วย อำ ไอ ใอ เอา จัดเป็นคำครุเพราะมีตัวสะกด
คำลหุ
-
- พยางค์ที่ไม่มีเสียงพยัญชนะสะกด
- พยางค์ที่ประสมด้วยสระเสียงสั้นเท่านั้น
- รวมถึง บ่ ณ ธ ก็ เพราะเป็นพยางค์ที่ออกเสียงสั้นและไม่มีเสียงพยัญชนะสะกด
-