Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ละครไทยประเภทรำ - Coggle Diagram
ละครไทยประเภทรำ
ละครแบบดั้งเดิม
ละครชาตรี
ละครชาตรี นับเป็นละครที่มีมาแต่สมัยโบราณและมีอายุเกาแกกว่าละครชนิดอื่นๆ มีลักษณะเป็นละครเร่ดล้ายของอินเดียที่เรียกว่า "ยาตรี" ซึ่งแปลว่าเดินทางท่องเที่ยว ละครยาตรีนี้คือ ละครพื้นเมืองของชาวอินเดีย
-
-
ละครใน
เครื่องแต่งกายประณีตงดงาม ตามแบบของกษัตริย์ เช่น มีมงกุฎ สังวาล ทับทรวง เจียระบาด ห้อยหน้า สนับเพลา พระ ภูษา ฉลองพระองค์ ฯลฯ
-
เป็นละครที่แสดงในวัง ได้นำวิธีการเล่นเดินเรื่องอย่างละครนอกมาให้เหล่าระบำในพระราชฐานแสดง โดยนำบทที่เคยแสดงโขน คือเรื่องรามเกียรต์ และอุณรุท มาแสดงโดยนางในราชสำนัก
ละครนอก
เป็นละครที่พัฒนามาจากละครชาตรี เดิมที่จะมีตัวละครเพียง 3-4 ตัวเหมือนในละครชาตรี ต่อมามีการแสดง
ละครอย่างแพร่หลายในหมู่ประชาชน
ผู้แสดง
เริ่มมีผู้หญิงแสดงละดรนอก ในสมัยรัชกาลที่ b แต่เป็นละดรหลวงผู้แสดงต้องเป็นคนแคล่วคล่องว่องไว มีไหวพริบปฏิกาณชำนาญทั้งรำและร้อง
เครื่องแต่งกาย
อาจจะแต่งตัวเหมือนคนทั่วไป เพราะเป็นละครพื้นบ้านเพียงแต่ทำให้มันกระชับและสะดวกในการทำบท
ละครแบบปรับปรุงใหม่
ละครดึกดำบรรพ์
เป็นละครที่เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 เจ้าพระยาเทเวศร์
วงศ์วิวัฒน์เสด็จเยือนยุโรปเมื่อปี พ.ศ. 2434 และได้มีโอกาสชมการแสดงโอเปร่า เขาชื่นชมอย่างมากในการแสดง เมื่อกลับมาก็คิดที่จะทำโอเปร่าแบบไทย
เครื่องแต่งกาย
เหมือนอย่างละครในที่เรียกว่า ยินเครื่อง" นอกจากบางเรื่อง ที่ดัดแปลงเพื่อความเหมาะสม และให้ตรงกับความเป็นจริง
ผู้แสดง ใช้ผู้หญิงล้วน ผู้ที่จะได้รับคัดเลือกให้แสดงละคร
ดึกดำบรรพ์จะต้องมีความสามารถพิเศษด้วยคุณสมบัติ 2ประการคือ ร้องเพลงไพเราะ และรูปร่างหน้าตาสวยงาม
ละครพันทาง
ละครพันทาง เป็นละครแบบผสม ซึ่งมีการพูดบทของตัวเอง ผู้ให้กำเนิดละครพันทางคือ เจ้าพระยามหินทร์ศักดิ์ธำรง ท่านเป็นเจ้าของคณะละครมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๔ แต่เพิ่งมาเป็นหลักฐานมั่นคงในรัชกาลที่ 5
-
เครื่องแต่งกาย
ไม่แต่งกายตามแบบละตรรำทั่วไป แต่จะแต่งกายตามลักษณะเชื้อชาติ เช่น แสดงเกี่ยวกับเรื่องมอญ ก็จะแตงแบบมอญ แสดงเกี่ยวกับเรื่องพมา ก็จะแต่งแบบพม่า เป็นต้น
ละครเสภา
เกิดในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นละครที่พระเจ้า บรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ได้ทรงปรับปรุงขึ้นใหม่ โดยทรงนำเอาเสภารำมาผสม กับละครพันทาง และยึดรูปแบบของการแสดงละดร
พันทางเป็นหลัก
-
-