Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาล และการผดุงครรภ์ - Coggle Diagram
พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาล
และการผดุงครรภ์
ความหมาย
“การพยาบาล” หมายความว่า การกระทำต่อมนุษย์เกี่ยวกับการดูแลและการช่วยเหลือเมื่อเจ็บป่วย
“การประกอบวิชาชีพการพยาบาล” หมายความว่า ปฏิบัติหน้าที่การพยาบาล
ต่อบุคคล ครอบครัว และชุมชน โดยกระทำการต่อไปนี้
การผดุงครรภ์ คือ การดูแลมารดาและทารก ตั้งแต่ผู้หญิงเริ่มตั้งครรภ์จนถึงคลอด
การประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ คือ การปฏิบัติหน้าที่การผดุงครรภ์ต่อหญิงมีครรภ์ หญิงหลังคลอด ทารกแรกเกิดและครอบครัว
วัตถุประสงค์และอำนาจหน้าที่ของ
สภาการพยาบาล
วัตถุประสงค์
ดูแลและควบคุมความประพฤติ
ส่งเสริมความก้าวหน้าในวิชาชีพ
ช่วยเหลือและให้ความรู้เกี่ยวกับการพยาบาล
อำนาจหน้าที่
รับขึ้นทะเบียนและออกใบอนุญาต
สั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือการเพิกถอนใบอนุญาต
ให้ความเห็นชอบหลักสูตรการศึกษา
รับรองหลักสูตรต่างๆ
สมาชิกสภาการพยาบาล
ประเภท
สมาชิกสามัญ
สมาชิกกิตติมศัพท์
สิทธิและหน้าที่
ให้การพยาบาลในขอบเขต
ปฏิบัติหน้าที่ตามระเบียบกฎหมายทางการแพทย์
สงวนวิชาชีพ รักษาจริยธรรม
การพ้นสภาพ
ตาย
ลาออก
ขาดคุณสมบัติตามมาตรา ๑๑ (๑)
อายุไม่ต่ำกว่า 18 ปี
มีความรู้ด้านในวิชาชีพ
ไม่มีความประพฤติเสียหาย
ไม่เคยจำคุก
จิตสมประกอบ
การขอขึ้นทะเบียนใบฯ
เป็นสมาชิกสามัญ
สำเร็จการศึกษา
ผู้ประกอบวิชาชีพชั้น 1
ผู้ประกอบวิชาชีพชั้น 2
อบผ่านความรู้ทางการพยาบาลตามเกณฑ์ที่กำหนด
กรมการสภาการพยาบาล
ประเภท
การสรรหาสภาการพยาบาล
การเลือกตั้ง
การแต่งตั้ง
การเข้าสู่ตำแหน่ง
1.นายกสภาการพยาบาล
2.อุปนายกสภาการพยาบาล
3.เลขาธิการสภาการพยาบาล
4.รองเลขาธิการสภาการพยาบาล
5.ประชาสัมพันธ์
6.เหรัญญิก
7.สภานายกพิเศษ [รัฐมนตรีกระทรวงสาธารณสุข]
คุณสมบัติ
เป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล
มีบัตรประจำตัวสภาการพยาบาลที่ไม่หมดอายุ
ไม่เคยถูกเพิกถอนใบอนุญาต
ไม่เคยถูกล้มละลาย
ไม่เคยดำรงตำแหน่ง 2 วาระ
ไม่ทำหน้าที่การเลือกตั้งคณะกรรมการ
การดำเนินการของคณะกรรมการ
สำคัญ
องค์ประชุมเต็มคณะ
การลงมติ 2/3 ของคณะ
ทั่วไป
องค์ประชุมกึ่งหนึ่ง ฟังเสียงข้างมาก
การควบคุมการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
นอกวิชาชีพ
พยาบาลตนเองได้
การช่วยเหลือตามจริยธรรม
ผู้ฝึกอบรมต้องมีผูผู้ดูแล
ผ่านการอมรมหลักสูตรไม่น้อยกว่า 1 ปี
มีใบอนุญาติใบฯ
บุคคลที่สามารถช่วยเหลือในเหตุจำเป็น
วิชาชีพ
หมวดที่ 1
ดำรงตำแหน่งให้สมควร และเคารพกฎหมาย
มีเจตนาที่ดี
ไม่มีเหตุให้เสื่อมเสียในวิชาชีพ
หมวดที่ 2
การปฏิบัติต่อผู้ป่วยหรือผู้ใช้บริการ
การปฏิบัติต่อผู้ร่วมวิชาชีพ
รักษามาตรฐานของวิชาชีพ
การปฏิบัติต่อผู้ร่วมงาน
ให้เกียรติส่งเสริม สนับสนุน
การทดลองต่อมนุษย์
ปฏิบัติตามจรรยาบรรณ
ได้รับการยินยอมจากผู้ถูกทดลอง
รับผิดชอบต่ออันตรายหรือผลเสียหาย
หมวดที่ 3
แสดงข้อความเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ
การเผยแพร่ ต้องไม่ตอบสถานที่ที่ประกอบวิชาชีพ
ต้องไม่ให้การประกอบวิชาชีพของตนเผยแพร่ทางสื่อมวลชนในทางโฆษณาความรู้ความสามารถ
สิทธิและหน้าที่พนักงานเจ้าหน้าที่
สิทธิและหน้าที่
ตรวจสอบใบอนุญาต
รับผิดชอบหรือปฏิบัติหน้าที่ในสถานที่นั้น
ค้นหรือยึดเอกสาร สิ่งของที่อาจใช้เป็น
พยานหลักฐาน
บทลงโทษ
หากไม่ปฏิบัติตามต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน
1,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
บทกำหนดโทษ
วิชาชีพ
ตักเตือน
ภาคฑัณฑ์
พักใบอนุญาต (เมื่อพ้นโทษสามารถประกอบวิชาชีพได้ทันที)
เพิกถอนใบอนุญาต
ยื่นคำขอรับใบอนุญาตเมื่อพ้น 2 ปี นับแต่วันที่ถูกเพิกถอน
ถ้าถูกปฏิเสธ สามารถยื่นคำขอรับใบอนุญาต เมื่อพ้นเวลา 1 ปี
ถ้าปฏิเสธเป็นครั้งที่ 2 ไม่มีสิทธิขอรับใบอนุญาต (มาตรา 45)
อาญา
บุคคลภายนอก
จำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
พยาบาลวิชาชีพที่พ้นจากการเป็นสมาชิกสามัญ
พ้นสภาพผู้ประกอบวิชาชีพ+ต้องคืนใบอนุญาต
ไม่คืนใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพต่อเลขาธิการภายใน15 วัน
นับจากพ้นจากการเป็นสมาชิกสามัญ ปรับไม่เกิน 1,000 บาท
ไม่ปฏิบัติตามเรียกำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือ ปรับไม่เกิน 1,000บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ไม่อำนวยความสะดวกแก่ จนท จำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่
เกิน 1,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ