Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พรบ.การศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2542 - Coggle Diagram
พรบ.การศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2542
หมวดที่ 1 บททั่วไป (ความุ่งหมายและหลักหาร)
มาตรา 6 มนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้
และคุณธรรม "เก่ง ดี มีสุข"
มาตรา 8 การจัดการศึกษา ให้ยึดหลักดังนี้
การศึกษาตลอดชีวิต Education For All
สังคมมีการเรียนรู้ในการจัดการศึกษา All Education
การพัฒนาสาระการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
มาตรา 9 หลักการจัดระบบโครงสร้างและมาตรฐานการจัดการศึกษา
มีเอกภาพด้านนโยบายและมีความหลากหลายด้านการปฏบัติ
กระจายอำนาจไปสู่เขตพื้นที่การศึกษา/การศึกษา
และการปกครองส่วนท้องถิ่น
กำหนดมาตรฐาน จัดระบบประกันคุณภาพการศึกษา
ทุกระดับทุกประเภท
ส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพและพัฒนาครู
ระดมทรัพยากรต่าง ๆ ในการจัดการศึกษา
การมีส่วนร่วม บุคคล ครอบครัว ชุมชน
หมวดที่ 2 สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา
มาตรา 10 จัดให้ทุกคนมีโอกาสทางการศึกษาเท่าเทียมกัน
รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เรียนฟรี 12 ปี
จัดการศึกษาให้ผู้ที่มีความบกพร่องทางร่างกาย และสติ ปัญญา
การจัดการศึกษาสำหรับผู้พิการ 9 ประเภทจัดตั้งแต่แรกเกิด
หรือเมื่อพบความพิการ
จัดการศึกษาของผู้ที่มีความพิเศษด้วยความเหมาะสม โดยคำนึงถึงความสามารถพิเศาของบุคคลนั้น
ให้บุคคลในครอบครัวมีสิทธิในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรา 11 หน้าที่ของบิดามารดาจัดให้บุตรได้รับการศึกษา
ภาคบังคับ 9 ปี (ย่างเข้าปีที่ 7 จนถึง 16 ปี คือ ป.1- ม.3 )
มาตรา 12 ให้บุคคล ครอบครัวมีสิทธิในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรา 13 บิดามารดาหรือผู้ปกครอง และสถานศึกษาที่จัดการศึกษามีสิทธิรับประโยชน์
การสนับสนุนจากรัฐ
เงินอุดหนุนจากรัฐ
การลดหย่อนภาษีหรือยกเว้นภาษี
หมวดที่ 3 ระบบการศึกษา
การจัดการศึกษา 3 รูปแบบ
การศึกษาในระบบ (Formal Education) มุ่งวิธีการศึกษา หลักสูตร
ระยะเวลาการศึกษา วัดและประเมินผล
การศึกษานอกระบบ (Non Formal Education ) ยืดหยุ่นในจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาการศึกษา การวัดและประเมินผล
การศึกษาตามอัธยาศัย (In Formal Education ) ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง ตามความสนใจและศักยภาพ
มาตรา 16
การศึกษามี 2 ระดับ
การศึกษาในระบบ
ขั้นพื้นฐาน
ก่อนประถมศึกษา
ประถมศึกษา
มัธยมศึกษา
ตอนต้น
ตอนปลาย
สามัญศึกษา
อาชีวศึกษา
อุดมศึกษา
ต่ำกว่าปริญญา
ปริญญา
มาตรา 17
การศึกษาภาคบังคับ 9 ปี
จำนวน 9 ปี
อายุย่างเข้าปีที่ 7 - อายุ 16 ปี
เว้นแต่สอบได้ปีที่ 9 ของภาคบังคับ ป.1 - ม.3
กำหนดบทลงโทษ พรบ.การศึกษา 2545
ผู้ปกครองไม่อำนวยความสะดวกให้เด็กเข้าเรียนในสถานศึกษา
ปรับไม่เกิน 1,000 บาท
กระทำสิ่งใดที่เป็นให้มิได้เข้าเรียน หรือให้ความที่เป็นเท็จ
ปรับไม่เกิน 10,000 บาท
มาตรา 18 การจัดการศึกษาปฐมวัยและการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
โรงเรียน
ศูนย์การเรียน
มาตรา 19 การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา
มาตรา 20 การจัดการศึกษาอาชีวศึกษา
หมวด 4 แนวทางการจัดการศึกษา
(หัวใจของ พรบ. การศึกษา
การจัดการศึกษาต้องยึดหลักมาตรา 22
ผู้เรียนเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเอง
ผู้เรียนมีความสำคัญี่สุด
กระบวนการจัดการศึกษาส่งเสริมผู้เรียนตาม ศักยภาพของผู้เรียน
มาตรา 23 การจัดการศึกษาทั้ง 3 รูปแบบ (ใน นอก ตาม)
เน้นความรู้ (K)
เน้นทักษะกระบวนการเรียนรู้โดยบูรณาการ (P)
เน้นคุณธรรม (A)
มาตรา 24 การจัดกระบวนการเรียนรู้ให้สถานศึกษา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการ
จัดเนื้อหาสาระ ให้สอดคล้องต่อความสนใจของผู้เรียน โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
ฝึกทักษะกระบวนการคิด
จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง
ผสมผสานความรู้ และคุณธรรม
จัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียนและอำนวยความสะดวก
จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลา
มาตรา 25 แหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตทุกรูปแบบ
มาตรา 26 สถานศึกษาจัดการประเมินผู้เรียน
พัฒนาผู้เรียน
ความประพฤติ
การสังเกตพฤติกรรมการเรียน
การร่วมกิจกรรม
การทดสอบควบคู่กับกระบวนการเรียนรู้
มาตรา 27 การจัดการเรียนรู้
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สถานศึกษาทำสาระและหลักสูตร
มาตรา 30 ส่งเสริมให้สถานศึกษาทำวิจัยเพื่อพัฒนาการศึกษา
หมวดที่ 5 การบริหารและการจัดการศึกษา
ส่วนที่ 1 การบริหารและการจัดการของรัฐ มาตรา 31 กระรวงมีบทบาทหน้าที่กำกับดูแลการศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท และการอาชีวศึกษาแต่ไม่นวมถึงระดับอุกมศึกษา
มาตรา 32 องค์กรหลัก มีองค์กรหลักที่เป็นคณะบุคคลในรูปสภาหรือรูปคณะกรรมการจำนวน 3 องค์กร ซึ่ง 3 องค์กรนี้เป็นนิติบุคคล
สภาการศึกษา 40 คน มีรัฐมนตรีเป็นประธาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่เกิน 27 คน
คณะกรรมการอาชีวศึกษา ไม่เกิน 32 คน
มาตรา 33 สภาการศึกษามีหน้าที่
เสนอแผน
พิจารณามาตรฐานการศึกษา
เสนอนโยบาย
ให้ความเห็นหรือคำแนะนำ แผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบาย และมาตรฐานการศึกษา เสนอต่อรัฐมนตรี
มาตรา 37 การบริหารและจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้ยึดเขตพื้นที่
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สถานศึกษา
ประชากร
วัฒนธรรม
ความเหมาะสมอื่น
มาตรา 38 ให้ กศจ. และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มีอำนาจกำกับดูแล จัดตั้ง ยุบรวมหรือเลิก สถานศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตพื้นที่
มาตรา 39 ให้กระทรวงกระจายอำนาจ ไปยังคณะกรรมการ สำนักงานเขต และสถานศึกษาในเขต
ด้านวิชาการ
ด้านงบประมาณ
ด้านบริหารงานบุคคล
ด้านการบริหารทั่วไป
มาตรา 40 ให้คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ส่งเสริมสนับสนุนสถานศึกษา
สถานศึกษาขนาดเล็ก นักเรียนไม่กิน 300 คนต่อกรรมการ 9 คน
สถานศึกษาขนาดใหญ่ นักเรียนเกิน 300 คน ต่อกรรมการ 15 คน
คณะกรรมการสถานศึกษา ประกอบไปด้วย
ประธานคณะกรรมการมาจากกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
ผู้แทนผู้ปกครอง
ผู้แทนครู
ผู้แทนองค์กรชุมชน
ผู้แทนองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
ผู้แทนศิษย์เก่า
ผู้แทนพระภิกษุ สถานศึกษาเล็ก 1 รูป สถานศึกษาใหญ่ 2 รูป
ผู้ทรงคุณวุฒิ
ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นเลขานุการ
ส่วนที่ 2 การบริหารและการจัดการศึกษาขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
มาตรา 41 องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น มีสิทธิจัดการศึกษาในระดับหนึ่งหรือทุกระดับตามความพร้อมและความเหมาะสมของท้องถิ่น
ส่วนที่ 3 การบริหารและการจัดการศึกษาเอกชน
มาตรา 43 การบริหารงานของเอกชน ให้อิสระโดยมีการติดตามเหมือนของรัฐ
มาตรา 45 เอกชนจัดการศึกษาได้ทุกระดับทุกประเภท
หมวดที่ 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรา 47 ให้มีระบการประกันคุณภาพการศึกษา ทั้งการศึกษาขั้นพื้นฐานและอุดมศึกษา ทั้งประกันคุณภาพภายใน และภายนอก
มาตรา 48 ให้หน่วยงานต้นสังกัด และสถานศึกษามีการประกันคุณภาพภายใน
ทำให้เป็นส่วนหนึ่งของการบริหาร
จัดทำรายงานประจำปีเสนอหน่วยงานต้นสังกัด และเปิดเผยต่อสาธาณชน (SAR)
สถานศึกษาประเมินเองทุกปี
สำนักงานเขตตรวจสอบอย่างน้อย 1 ครั้ง ทุก 3 ปี
มาตรา 49 สมศ.(องค์การมหาชน) ทำหน้าที่ประเมินปนะกันคุณภาพภายนอก อย่างน้อย 5 ปี ต่อ 1 ครั้ง
มาตรา 51 ผลการประเมินภายนอกของสถานศึกษาใดไม่ผ่าน สมศ.จะทำการให้คำแนะนำเพื่อปรับปรุง
มาตราฐานการศึกษามี 3 มาตรฐาน
คุณภาพผู้เรียน
กระบวนการจัดการ
กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
หมวดที่ 7 ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา 51 /1 คณาจารย์ คือผูัที่สอนในระดับอุดมศึกษา
มาตรา 53 องค์กรวิชาชีพ ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษา เป็นองค์กรอิสระภายใต้สภาวิชาชีพในกำกับของกระทรวงมีหน้าที่คือ
กำหนดมาตรฐานวิชาชีพ
ออกและเพิกถอนใบประกอบวิชาชีพ
กำกับดูแลมาตรฐานและจรรยาบรรณ
พัฒนาวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษา
จากมาตรา 53 ทำให้เกิด พรบ. สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา 2546
ให้ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา และบุคลากร (ศึกษานิเทศก์) ต้องมีใบประกอบวิชาชีพ
มาตรา 54 ให้มีองค์กรกลางบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูคือ ก.ค.ศ. ทำให้เกิด พรบ. ระเบียบข้าราชการครูและบุคคลากรทางการศึกษา
มาตรา 55 ให้มีกฎหมายที่ว่าด้วยเงินเดือน สำหรับข้าราชการครูและบุคคลากรทางการศึกษา
หลักสูตร 4 ปี 15,050 และ 18,220
หลักสูตร 5 ปี คือ 15,850 และ 19,120
หลักสูตร 6 ปี คือ 17,690 และ 21,410
หมวดที่ 8 ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
มาตรา 59 ให้สถานศึกษาของรัฐเป็นนิติบุคคล จัดการทรัพยากรต่าง ๆ ได้โดยไม่ขัดต่อกฎและนโยบายของรัฐ และบรรดาทรัพยากรที่ได้มาจากการบริจาคไม่ถือเป็นราชพัสดุ
มาตรา 61 ให้รัฐสรรเงินอุดหนุนให้ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรวิชาชีพ เอกชน ศาสนา สถานประกอบการตามความเหมาะสม
ก่อนประถม 1,836 ต่อคนต่อปี
ประถม 2,052 ต่อคนต่อปี
มัธยมต้น 3,780 ต่อคนต่อปี
มัธยมปลาย 4,104 ต่อคนต่อปี
อุดหนุนรายหัวเพิ่มเติม
ประถมขนาดเล็ก นร. 120 ลงมา หัวละ 500 บาทต่อคนต่อปี
มัธยมขนาดเล็ก นร. 300 คนลงมา หัวละ 500 ต่อคนต่อปี
แบ่งเป็นภาคเรียน
มาตรา 62 ให้มีการประเมินตรวจสอบ หน่วยงานภายในตามกฎกระทรวง
หมวดที่ 9 เทคโนโลยีการศึกษา
มาตรา 53 รัฐต้องจัดอุปกรณ์ เพื่อการศึกษาวิทยุโทรคมนาคม
มาตรา 65 พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถด้านเทคโนโลยี
มาตรา 66 ผู้เรียนมีสิทธิรับการพัฒนาใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
มาตรา 69 รัฐต้องมีหน่วยงานกลางที่เสนอแผนการการวิจัยและพัฒนาการประเมิน เทคโนโลยีการศึกษา
e - Education มี 4 ยุทธศาสตร์
ใช้ ICT พัฒนาผู้เรียน
ใช้ ICT พัฒนาการบริหารจัดก่ารศึกษา
ผลิตและพัฒนายบุคลากรด้าน ICT
กระจายโครงสร้างพื้นฐาน ICT เพื่อการศึกษา