Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Physiological and psychosocial changes during pregnancy and antenatal care…
Physiological and psychosocial changes during pregnancy and antenatal care
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาระยะตั้งครรภ์
ระบบสืบพันธุ์
เต้านม : มีขนาดใหญ่ขึ้นจากการเพิ่มของhormone estrogen กับ Progesterone และAntirior pituitary หลัง Polactinเพื่อผลิตน้ำนม หลั่งOxitocinให้น้ำนมไหล
มดลูก : มีเลือดมาเลี้ยง cervix ทำให้สีเข้มขึ้น ,มี Mucus plug ที่สร้างขึ้นจากการเพิ่มขึ้นของProgesterone เพื่อป้องกันไม่ให้มีอะไรไปรบกวนทารก แต่เสี่ยงติดเชื้อ ,Vaginal Varicose Veinเกิดจากperiniumที่ขยายและเห็นเส้นเลือดชัดจากการดึงน้ำออกเพราะestrogen เพิ่ม
รังไข่ : ไตรมาสแรก (ไม่มีhormone มายับยั้ง FSH แท้ง=คุมกำเนิดทันที) ไตรมาสสอง (มี prolactin หยั่ง FSH 1 เดือนไม่คุมกำเนิด)
ระบบผิวหนัง
Melanin : ไวต่อแสงทำให้เกิดฝ้าหลังคลอดจะลดลง
Linea Ingra : จะเห็นชัดในไตรมาสที่ 2
Stretch marks : สามารถบอกการตั้งครรภ์มีสีขาวออกเงิน กับชมพูแดง
diastasis recti : กล้ามเนื้อแยก
Skeletal changes
จุดศูนย์กลางท้องเปลี่ยน Rolaxing ทำให้กระดูกอ่อนโครงสร้างจะเปลี่ยนให้เหมาะกับการตั้งครรภ์และคลอด
Round ligment ที่ยึดมดลูกกับช่องเชิงกราน ทําให้สตรีมีครรภ์รู้สึกเจ็บแปล๊บเมือขยับตัว
ภาวะไม่สมดุลของ calciumและ phosphorus
Urinary changes
Progesterone ทำให้ทุกอย่างคลายตัว ปัสสาวะค้าง เชื่อโรคย้อนติดเชื้อ ( แต่ไตรมาส1กับ3ฉี่บ่อย)
hormone
รังไข่ผลิต estrogen และprogesterone และย้ายไปที่รก
รก ผลิตhormone HPL ทำให้ดื้อต่อการใช้ insulin
มารดาสามารถเป็นเบาหวานและความดันได้แต่เมื่อคลอดจะหายหลัง 12 wks
การเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคมของหญิงตั้งครรภ์
ด้านอารมณ์
1.ไตรมาสที่ 1 : ambivalence คือการลังเลใจ
2.ไตรมาสที่ 2 : accepting the pregnancy คือยอมรับการตั้งครรภ์ เพราะรู้สึก Quickening การดิ้นของทารกในครรภ์ เริ่มจินตนาการถึงเพศ
3.ไตรมาสที่ 3 : emotional lability มีอารมณ์แปรปวน กังวลเกี่ยวกับการคลอด
ด้านภาพลักษณ์ สภาพจิตใจที่มีต่อร่างกาย รูปร่าง ลักษณะ และศักยภาพของร่างกาย
1.ไตรมาสที่ 1 : ยังไม่รู้สึก
2.ไตรมาสที่ 2 : รู้สึกต่อหน้าท้องและเต้านมขยาย จะไม่ยอมรับจน accepting the pregnancy
3.ไตรมาสที่ 3 : ร่างกายเปลี่ยนมาก ขาดความคล่องตัว เกิดความเครียดขาดความมั่นใจ ไม่ชอบรูปร่างตนเอง แต่ฝั่งตรงข้ามจะภูมิใจ
ด้านเพศสัมพันธ์
1.ไตรมาสที่ 1 : ความต้องการทางเพศลด ไม่สุขสบาย
2.ไตรมาสที่ 2 : ยังไม่รู้สึกถึงการเปลี่ยนแปลง มีความสุขในการมีเพศสัมพันธ์
3.ไตรมาสที่ 3 : ความสนใจทางเพศลดลงเนื่องจากกลัวอันตรายกับทารกในครรภ์
ด้านอารมณ์ของสามี
1.ไตรมาสที่ 1 : ambivalence คือการลังเลใจ กลัวเป็นสามีไม่ดี
2.ไตรมาสที่ 2 : สามียอมรับ เห็นทารกดิ้น ถ้าสนับสนุนภรรยาจะรับตัวดี
3.ไตรมาสที่ 3 : สามีกังวลเกี่ยวกับความปลอดภัย
การดูแลด้านจิตสังคมของหญิงตั้งครรภ์
ด้านครอบครัว : ลักษณะ ความหวัง สภาพเศรษฐกิจของครอบครัว
ด้านสังคมและบริการสุขภาพ : ความเชื่อ คุณค่าเกี่ยวกับการตั้งครรภ์
1.ไตรมาสที่ 1 : ให้ความรู้เกี่ยวกับการตั้งครรภ์ การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายและอารมณ์ ให้ระบายความรู้สึกเมื่อสับสน เป็นมากๆพบจิตแพทย์
2.ไตรมาสที่ 2 : เสริมความรู้สึกดีของการมีทารกในครรภ์ เปลี่ยนความเห็นสร้างความภาคภูมิใจในการเป็นแม่ที่ดี พร้อมกับความเข้าใจและความสัมพันธ์ในครอบครัว
3.ไตรมาสที่ 3 : ให้ความรู้เตรียมคลอด บอกอาการนำคลอด สำรวจความฝันจินตนาการของทารกในครรภ์ สอนสามีและญาติเกี่ยวกับพฤติกรรม และความรู้สึกของการมีทารก ให้ระบายความในใจควาใคิดเห็น
.การวินิจฉัยการตั้งครรภ์
1.Presumptive signs (สงสัยว่าตัวเองตั้งครรภ์)
2.Probable sign (UPT+ ท้องโตขึ้น))
3.Positive sign
เสียง FHS : ฟังเสียงหัวใจทารก
Fetal movement : การเคลื่อนไหวของทารกในครรภ์
U/S : ดูทารกในครรภ์
คลำขอบเขตของทารกได้
AHegar’s sign : คอมดลูก ขยายและนุ่มขึ้น
Goodell’s sign : คลำพบปากมดลูก
Ladin’s sign : จุดต่อระหว่างมดลูกกับปากมดลูกจะมีความอ่อนนุ่น
คลื่นไส้อ่อนเพลีย การขาดประจำเดือน เต้านมขยาย มีStriae gavidarum รู้สึกว่าลูกดิ้น
การประเมินภาวะสุขภาพมารดาทารก และการคัดกรองประกอบด้วย
ซักประวัติและตรวจร่างกาย
ตรวจครรภ์
Physical Examination
• ดูส่วนสูงของคุณแม่ถ้า<140cm อุ้งเชิงกรานแคบ
• ลักษณะการเดิน : พิการ (กระดูกสันหลังเอียง) อุบัติเหตุ เสี่ยงล้ม
• ตรวจทั่วไป ใบหน้าสมมาตร หู ผม ความสะอาด
• ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจ CBC : Hct=33% Hb=11% MCV(ค่าเฉลี่ยRBC)<80fl และMCH(ขนาดRBC)<25 ดูภาวะซีด ขาดธาตุเหล็ก
ตรวจBlood group : -ABO -Rh
Urine : glucose และAlbumin +1 คือผิดปกติ
ตรวจโรค
โรคธาลัสซีเมีย : ตรวจHemoglobin E screening ดู OF การแตดตัวของ RBC
HIV,ไวรัสตับบี = non reactive
ซิฟิลิส
ตรวจครรภ์
คลำ
Fundal Grip : หา hf และวัด Hf
Umbilical Grip : หา large part กับSmall part
Pawlik’s Grip : หาส่วนนำว่าเป็นหัวหรือก้น
Bilateral inguinal Grip : หาว่าทารกเข้าอุ้งเชิงกรานหรือยัง
ดู
รูปร่างท้อง,Steria gravidarum(แดงชมพูท้องแรก,ขาวเงินๆท้องสอง),Linai Niga (ไตรมาส2-3จะเข้ม)
ฟัง
Fetal Heart Sound 110-160 ครั้ง/นาที ฟังอย่างน้อย 15 วินาที
การส่งเสริมสุขภาพมารดาขณะตั้งครรภ์
1.สารอาหาร หญิงตั้งครรภ์ควรเพิ่มพลังงานอีก 300 kg/call โปรตีน 25 g เสริม ไอโอดีน เหล็ก โฟลิก
ไอโอดีน : ไทรอยด์เกี่วข้องกับmetabolism ทำหน้าที่พัฒนาของสมอง
ธาตุเหล็ก : ส่วนประกอบ Hb ใน RBC ป้องกันโลหิตจาง IQลด5-10
โฟเลท : เกี่ยวกับการเจริญเติบโตของสมอง เช่นไขสันหลังไม่ปิด ไม่มีเนื้อสมอง มีน้ำในสมอง
แคลเซียม : พัฒนาสร้างกระดูกและฟัน
เลซิติน เป็นสานสื่อประสาทที่มีในอาหาาไม่ต้องเพิ่ม : ถั่วเหลือง ดอกกะหล่ำ กะหล่ำปลี
สังกะสี : พัฒนาระบบสืบพันธ์ุ เพศชายต้องการมากกว่า 5 เท่า
โปรตีน(1-1.5/นน ตัว)และพลังงาน : แคะแกร๊น เตี้ย+ไม่ผอม/ผอม
ดื่มน้ำเพิ่ม
vitamin B6 ช่วยลดอาการคลื่นไส้
2.ยาที่ต้องระวัง ปรึกษาแพทย์ก่อนใช้
1.ยากันชัก Antiepileptic drugs
2.ยาไทรอยด์เป็นพิษ Antihyperthyroid drugs
3.ยาความดันและยาหัวใจ Antihypertensive and Cardiovascular
4.Ergotamines : ยาไมเกรน อันตรายทำให้เลือดมาเลี้ยงทารกน้อย
5.ยาแก้อักเสบกลุ่ม NSAID : Diclofenac Ibuprofen น้ำคล่ำน้อย พิษไต
6.ยาแก้ปวดกลุ่ม Opioids : Tramadal fentanyl codeine รกลอก คลอดก่อนกำหนด ตายในครรภ์
7.ยาฆ่าเชื้อ : Tetracycline ทารกฟันเหลือง Choramphenicol เกรย์เบบี้ ซินโดรม
8.ยาจิตเวช :
9.vitamin A : ห้ามในหญิงตั้งครรภ์
10.ยาต้านมะเร็ง : ห้าม
การพยาบาลภาวะไม่สุขสบายของหญิงตั้งครรภ์
ไตรมาสแรก
Nausea and vomiting : เพราะ HCG เพิ่ม ดื่มน้ำ 6-8 แก้ว แบ่งมื้ออาหาร5-6มื้อ ทานขนมปังกรอบๆ ทานVitB ทานธาตุเหล็กก่อนนอน
2.เหนื่อยล้า : ในไตรมาสแรก
3.ปัสสาวะบ่อย : ไตรมาสแรกกับสาม มดลูกเบียดกระเพราะ รบกวนการนอน
เต้านมคัดตึง (Breast tenderness) : เปลี่ยน size ยกทรง มีเพศสัมพันธ์ไม่ไปยุ่งกับหัวนม เป็นในไตรมาสแรก
5.น้ำลายไหลมาก : ptyalism น้ำลายเป็นกรด
ไตรมาสสอง-สาม
Dyspnea or Shortness of breath หายใจลำบาก สั้น : ผลจากHormone Progesterone และมดลูกเบียดDiaphragm ให้แม่นอนหัวสูง หรือนอนตะแคง
Heartburn : ทานอาหารย่อยง่าย ไม่รสจัด กินแล้วไม่นอน จากHormone Progesterone และมดลูกเบียดกระเพาะ
อาการท้องอืด (Flatulence) : Progesterone ล าไส้คลายตัวมีการเคลื่อนไหว บีบตัวน้อย
ท้องผูก (Constipation) : อาหารค้างอยู่ในกระเพาะอาหารนานขึ้น ดูดน้ำออกอึแข็ง
ริดสีดวงทวาร (Hemorrhoids) : ริดสีดวงจากอึแข็ง+estrogen blood circulation
ตะคริว (Leg Cramps) : อิเล็กโทรไลต์ไม่สมดุล Calcium ลด และPhosphorus เพิ่ม
เส้นเลือดขอด (Varicosities) : ทั้งพันธุกรรมและมดลูกที่ใหญ่ขึ้นกดทับไหลเวียนเลือด ให้แก้โดยยกขาสูง ประคบอุ่น ห้ามนวด
อาการบวมทีข้อเท้า (Ankle edema) : ครรภ์เป็นพิษบวมกดบุ๋ม
ปวดหลัง (Backaches or Back pain)
อาการปวดศีรษะ (Headache) : ปริมาณเลือดในร่างกายที่เพิ่มมากขึ้นทำให้เพิ่มแรงดันในเส้นเลือดแดงในสมอง
ความดันโลหิตตํา (Hypotension) : ความดันต่ำขณะนอนหงาย หรือเปลี่ยนอริยาบถ หน้ามืด
vagina discharge : ปากมดลูก (Cervicalgland) มีเลือดมาเลียง
ปวดเส้นเอ็นทียึดมดลูก (Round ligament pain) : มดลูกกดเบียด
การกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือ(Carpal tunnel syndrome) : เกิดจากเส้นประสาท Median Nerve
อาการหดรัดตัวของมดลูก(Braxton Hick's contractions) : ปวดเพราะเลือดพุ่งเข้ามดลูกดี อายุครรภ์ 8-12Wks
การกระตุ้นพัฒนาการของทารกในครรภ์
ไตรมาสแรก : เสริมVitamin
ไตรมาสที่สอง : เริ่มรู้สึกว่าลูกดิ้น
นั่งเก้าอี้โยก
ลูปท้องจิ้มในบริเวณที่เขาดิ้น เริ่มในเดือนที่ 2
20-24-30 wks (5เดือน) : เปิดเพลงให้ลูกฟัง 30 นาที พูดคุยกับลูก กระตุ้นพัฒนาการสมอง
ไตรมาสที่สาม : พ่อแม่สามารถพูดคุยหยอกล้อ ลูกแยกเสียงพ่อแม่ได้
อ่านหนังสือเสียงสูงเสียงต่ำ
ตา : ใช้ไฟส่อง บน-ล่าง ซ้าย-ขวา ไฟกะพริบ ทารกปรับม่านตา เลนส์ตา กล้ามเนื้อตา 5-10 ครั้ง 1-2 นาที
สัมผัสรูปคลำ
เดือนที่ 9 ประสาทสัมผัสด้านกลิ่น ดมกลิ่น
ออกกำลังกาย ทำให้เลือดไหลเวียน ผิวทารกชนผนังมดลูก กระตุ้นประสาทสัมผัส
การเตรียมตัวเพื่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
เดือนแรก : hormone กระตุ้นเต้านมขยายขนาด ท่อน้ำนมแตก
เดือนสอง : เต้านมใหญ่ ปานนมสีเข้ม
สี่เดือนขึ้นไป : เซลล์ต่อมน้ำนมเกิดขึ้นชัดเจนสร้างน้ำคัดหลังสีใสขุ่น colostrum
เดือนหก : เส้นเลือดดำใต้ผิวหนังขยายท่อน้ำนมหนาพร้อมให้นมลูก