Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การแสดงพื้นบ้านอาเซียนในโซนตะวันออกเฉียงใต้, image, image, ดาวเวียง…
การแสดงพื้นบ้านอาเซียนในโซนตะวันออกเฉียงใต้
ประเทศลาว
ลำลาว (Lam Lao) หรือหมอลำเป็นการแสดงดนตรีพื้นบ้านของลาวและอีสานของไทย มีนักร้องหรือผู้เล่าเรื่องและแคนเป็นองค์ประกอบ เป็นการโต้ตอบกันผ่านโคลงกลอน หรือการร้องที่มีสัมผัสคล้องจองระหว่างนักร้องชายและหญิง การแสดงดำเนินไปด้วยท่ารำที่หลากหลายมุกตลกต่างๆ อันเกิดจากปฏิภาณไหวพริบของผู้ร้อง และการหยอกเย้ากันระหว่างผู้แสดงและผู้ชม
ลักษณะทั่วไป
นาฏศิลป์ในประเทศลาวเป็นนาฏศิลป์ที่เป็น เอกลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ลาวซึ่งพบใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยด้วย และ การแสดงพื้นบ้านของกลุ่มชาติพันธุ์อื่นๆ มี ทั้งนาฏศิลป์ในราชสำนัก ซึ่งนาฏศิลป์พื้น บ้าน เช่น หมอลำ หนังตะลุง
บุคคลสำคัญ
เป็นนักเขียนกวีและนักแต่งเพลงลูกทุ่ง ลาวอันโด่งดังและยังเป็นศิลปินแห่งชาติ ของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน ลาวอีกด้วย เขามีชื่อเสียงจากการเป็น นักข่าวของหนังสือพิมพ์ศึกษาใหม่และ ยังเป็นนักเขียนอีกด้วย
การแต่งกาย
ผู้หญิงลาวจะนุ่งผ้าซิ่น และเสื้อแขนยาวทรงกระบอก สำหรับผู้ชายมักแต่งกายแบบสากลหรือนุ่งโจงกระเบน สวมเสื้อชั้นนอกกระดุกเจ็ดเม็ดคล้ายเสื้อพระราชทานของไท
ประเทศเวียดนาม
ตัวอย่างการแสดง
"ระบำหมวก" เป็นการแสดงพื้นบ้านทางภาคเหนือของเวียดนาม มีลักษณะท่าทางการรำที่อ่อนช้อยสวยงาม ใช้หมวกรูปทรงกรวยที่เรียกว่า“น่อนล้า”
เป็นการแสดงพื้นบ้านทางภาคเหนือของเวียดนาม มีลักษณะท่าทางการรำที่อ่อนช้อยสวยงาม
บุคคลสำคัญ
.
ลิวกวางหวู
ผลงาน
เขียนบทละครเวทีเกือบ 50บท และได้จัดทำเป็นละครเวทีเพื่อแสดงในโรงละครต่างๆ โดยการกำกับของผู้ก่ากับที่มีชื่อเสียงของเวียดนาม เช่น “Hồn Trương Ba da hàng thịt” “Lờithề thứ 9” “Tin ở hoa hồng" เป็นต้น ซึ่งได้รับความนิยมและสร้างความประทับใจให้แก่ผู้ชมจำนวนมากและทำให้แก่ผู้ชมจำนวนมากและทำให้การแสดงละครเวทีในช่วงนั้นคึกคักเป็นอย่างยิ่ง
ประวัติ
กวีและนักเขียนบทละครเวทีลิวกวางหวู เกิดเมื่อปี1948 ที่ ตำบลเถี่ยวเกอ อำเภอหะหว่า จังหวัดฟู้เถาะ เป็นลูกชายของนักเขียนบทละครเวทีลึวกวางถ่วน ซึ่งมีภูมิลำเนาอยู่ที่ เขตหายโจว์ นครดานัง ตอนเป็นเด็ก ครอบครัวของลิวกวางหวูอาศัยอยู่ที่จังหวัดฟู้เถาะ ถึงปี 1954 ครอบครัวของลิวกวางหวูได้ย้ายไปอยู่ที่กรุงฮานอย ซึ่งในตอนนั้น ลึวกวางหวูก็เริ่มมีความรู้สึกชอบและแสดงออกถึงความสามารถด้านศิลปะ โดยความจรงจำในช่วงเวลาที่อาศัยในหมู่บ้านชนบทในภาคเหนือของเขาได้สะท้อนออกมาอย่างเด่นชัดในผลงานต่างๆ
การแต่งกาย
ชาย แต่งกายคล้ายหญิง บางครั้งสวมเสื้อกุยเฮง สวมหมวกสีดำเย็บด้วยผ้า ไม่มีปีก ปัจจุบันแต่งสากลกันมาก แล้ว ในเวียดนามใต้มีชาวเขาเผ่าหนึ่งเรียกว่า พวกม้อย จะนุ่งผ้าสั้น ๆ ปกปิดร่างกายแต่เฉพาะ ท่อนล่างคล้าย นุ่งใบไม้ ปัจจุบันหญิงสวมเสื้อ นิยมเจาะหูสอดไม้ซึ่งเหลาแหลม ๆ สวมกำไลคอ
การแสดงพื้นบ้านไทย
นายมานพ ยาระณะ เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านศิลปะการ ฟ้อน, ศิลปะการต่อสู้, การศึกลองสะบัดชัยแบบโบราณ, กลองปู่จา, กลองปู่เจ่, ดนตรีพื้นบ้านล้านบาและดนตรีไทย โดยได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาติดปะ การแสดง ประจําปี พ.ศ. 2548
นายหนังถิ่น ธรรมโฆษณ์ ผู้ทรงคุณลาทางด้านหนัง ตะลุงได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (หนังตะลุง)เมื่อพ.ศ. 2532
ศิลปินผู้ทรงคุกเข่า
หนังตะลุง คือศิลปะการแสดงประจำท้องถิ่นอย่างหนึ่ง ของภาคใต้เป็นการเล่าเรื่องราวที่ผูกร้อยเป็นนิยาย ดำเนิน เรื่องด้วยบทร้อยกรองที่ขับร้องเป็นสำเนียงท้องถิ่น หรือที่ เรียกกันว่าการ "ว่าบท" มีบทสนทนาแทรกเป็นระยะ และ ใช้การแสดงเงาบนจอผ้าเป็นสิ่งดึงดูดสายตาของผู้ชม ซึ่ง การว่าบทการสนทนาและการแสดงเงานี้นายหนังตะลุง เป็นคนแสดงเองทั้งหมด
ค่อมตาม เป็นการแสลงได้ทั้งชายและหญิงส่วนมาก เป็นการร่าในทาตางๆไปตามสั่งแต่2-4-6-8 เคมและอาจจะ ไปได้ถึง 12 เทม นอกจากการฟ้อนดาบแล้วก็อาจมีการร่า หอกหรือง่าวกล้วยท่าร่มางท่าก็ไปเป็นการลอยู่กันฟัง ฝ่ายต่างก็มีมีอาการมือนอย่างน่าอุและหวาดเสียวเพราะ ควนมากมักไปตามรร้อยหรือไม่ก็ไปตามที่ทำด้วยควาย แหมหากพลาดพลั่งก็เจ็บตัวเหมือนกับการฟ้อนตามนี้มี หลายสิบหาและมีเพิ่งตามตางๆ
ดาวเวียง บุตรนาโค
ตัวอย่างการแสดง