Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน, S_…
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรม
เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
1 นวัตกรรม
1.2 รูปแบบของเทคโนโลยีและนวัตกรรม
เทคโนโลยี คือ ความสามรถของกระบวนการผลิต ซึ่งเทคโนโลยีที่เป็นกระบวนการ เช่น โรงงานผลิตรถยนต์มีเทคโนโลยีที่เป็นกระบวนการผลิตมากมาย เช่น การขึ้นรูปโลหะการประกอบเครื่องยนต์และตัวถัง การชุบตัวถังและเคลือบ การเคลื่อนย้ายด้วยสะพาน การผลิต การตรวจสอบควบคุมคุณภาพ
ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่สร้างจากความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เช่น ดินสอ คอมพิวเตอร์ รถยนต์ โทรศัพท์ ดาวเทียม
เทคโนโลยีที่เป็นผลผลิตสุดท้ายที่จำหน่ายได้ จัดเป็นนวัตกรรม
เทคโนโลยี คือ หลักการที่พัฒนาจากความรู้พื้นฐาน เช่น เทคโนโลยีการปรับอากาศ ที่เกิดจากหลักการสร้างเครื่องปรับอากาศจากวิทยาการเทอร์โมไดนามิกส์ (Termodynamics) รวามไปถึงเทคโนโลยีทางการแพทย์ เทคโนโลยีดิจิทัล เทคโนโลยียานยนต์ เทคโนโลยีการบินและอวกาศ
หลักการที่เป็นวิทยาการพื้นฐาน เป็นฐานความรู้เอาไปใช้ให้เกิดผลอตภัณฑ์แบะกระบวนการผลิต จัดเป็นเทคโนโลยี
หมายถึง วิธีการปฏิบัติใหม่ๆ ที่แปลกไปจากเดิม สิ่งใหม่ที่เกิดจากการให้ความรู็ และความคิดสร้างสรรค์ที่มีประโยชน์ต่อเศรษฐกิจและสังคม การสร้างสิ่งใหม่ หรือการนำของเก่ามาปรับปรุงให้แตกต่างจากของเดิม
1.1 ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีและนวัตกรรม
เทคโนโลยี คือ "วิทยาการที่นำเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ม่ใช้ให้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติเป็นอุตสาหกรรม
เทคโนโลยีอาจมีวิวัฒนาการนำเอาคามรู้มาใช้เพื่อพัฒนากระบวนการทางทำงานจากสิ่งที่ปฏิบัติเป็นกิจวัตรประจำวัน
2.การพัฒนาอย่างยั่งยืน
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่มีประโยชน์ต่อประเทศไทยและนานาประเทศ
2.1 หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เงื่อนไขคุณธรรม
การมาถึงดินแดนที่ยั่งยืนให้คงอยู่อย่างยั่งยืนโดยแบ่งพื้นที่สามารถ 4 ส่วน (เกษรทฤษฎีใหม่)
30% ปลูกข้าว เพื่อใช้ บริโภคและจำหน่าย
30% ปลูกพืชไร่ พืชสวนไม้ยืนต้น
10% ปลูกบ้านที่อยู่อาศัยและเลี้ยงสัตว์
30% ขุดสระน้ำไว้ใช้สำหรับทำการเกษตรและเลี้ยงปลา
เงื่อนไขความรู้
เศรษฐกิจพอเพียงประกอบด้วยคุณสมบัติ 3 ประการ
ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล
มีภูมิคุ้มกัน หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น
ความพอประมาณ หมายถึง ความมพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น
2.2 หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
จุดมุ่งหมายของ SDGs
เป้าหมายมุ่งหวังจะช่วยแก้ปัญหาที่โลกกำลังเผชิญอยู่ เช่น ความเชื่อแพร่หลาย เช่น เทียม โรคโลกร้อน และสันติสุขที่เสริมแนวคิด "ไม่เป็นทิ้งใครไว้ข้างหลัง"
บรรลุถึงเป้าหมายเพื่อการพัฒนาที่เก็บข้อมูล 17 หลัก
2.3 หลักปรัชญาของเศณษฐกิจพอเพียงกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ของเสียกลับมาอีกครั้งโดยการพัฒนาคุณภาพจากนักวิทยาศาสตร์
การต่อยอดผลิตภัณฑ์เพื่อเพิ่มมูลค่า
ความรู้สร้างเครื่องมือที่ต้องใช้ลงทุนไม่เกินตัว
ไม่มีข้อเสียจากการผลิตลดลง
สิ่งที่สำคัญที่สุดได้นี้สามารถเกิขึ้นได้