Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Case Study, จัดทำโดย วินิจตรา แซ่โง้ว - Coggle Diagram
Case Study
-
-
Hyperkalaemia
อาการ
คลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก อ่อนเพลีย ตะคริว กล้ามเนื้อกระตุก กล้ามเนื้ออ่อนแรง การหายใจล้มเหลว ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ หรือมีภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะหรือหัวใจหยุดเต้นได้
EKG อาจพบคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เปลี่ยนแปลงในรูปแบบ tall peaked T-wave, prolonged PR- interval, widened QRS complex, shortened QT- interval, deepened S-wave
การรักษา
หยุดการได้รับโพแทสเซียมเพิ่มจากภายนอกร่างกาย (exogenous potassium) ทั้งจากการรับประทานอาหาร หรือเครื่องดื่มต่างๆ และหยุดหรือลดขนาดยาที่มีผลเพิ่มระดับโพแทสเซียมในเลือดให้สูงขึ้นได้ เช่น ยาขับปัสสาวะกลุ่ม potassium-sparing
-
สาเหตุ
-
อินซูลินสามารถกระตุ้น Na+ -K+ -ATPase pump บนเยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์ต่างๆ โดยเฉพาะที่เซลล์ตับ เซลล์กล้ามเนื้อ และเซลล์ไขมัน ส่งผลให้มีการเก็บโพแทสเซียมเข้าสู่เซลล์ มากขึ้นเพื่อป้องกันภาวะโพแทสเซียมในเลือดมากเกิน และหากมีภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่ำ ร่างกายจะสามารถยับยั้งการหลั่งของอินซูลินจากตับอ่อนได้ จากเหตุผลดังกล่าวจึงสามารถอธิบายได้ว่าผู้ป่วยที่รับประทานยาขับปัสสาวะบางกลุ่มที่มีผลทำให้โพแทสเซียมในเลือดต่ำ มีโอกาสที่จะเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดสูงขึ้นได้
-
ฮอร์โมน aldosterone จะถูกหลั่งออกมาจาก
ต่อมหมวกไตมากขึ้นเพื่อตอบสนองต่อระดับความเข้มข้นของโพแทสเซียมในเลือดที่สูงขึ้น แล้วขับโพแทสเซียมที่มากขึ้นออกทางปัสสาวะ นอกจากนี้ aldosterone ยังสามารถกระตุ้น Na+ -K -ATPase pump ได้เช่นเดียวกัน
ภาวะ hyperosmolality พบได้บ่อยในผู้ป่วย เบาหวานที่มีภาวะ diabetic ketoacidosis ที่มีระดับกลูโคสในกระแสเลือดที่สูงมากจนทำให้เกิดภาวะ hyperosmolality และส่งผลให้โพแทสเซียมออกมานอกเซลล์มากยิ่งขึ้น
-