Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน - Coggle Diagram
เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
2.การพัฒนาอย่างยั่งยืน
2.1หลักปรัญาเศรษกิจพอเพียง
1.ความพอประมาณ
หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่นการผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ
ความมีเหตุผล
หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผลโดยพิจารณาจากเหตุมิจฉัยที่เกียวข้องตลอดจนค่านึ่งถึงผล ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำนั้น ๆ อย่างรอบคอบ
3.มีภูมิคุ้มกัน
หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง 1 ที่จะเกิดขึ้นโดยคำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล
1.เงื่อนไขความรู้
ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้านความรอบคอบที่จะนำความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในชั้นปฏิบัติ
2.เงื่อนไขคุณะธรรม
ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความ ชื่อสัตย์สจริตและมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดำเนิน ชีวิต
2.3 หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
2.2 หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาอย่าง
ยั่งยืน
7.พลังงานสะอาดที่ทุกคนเข้าถึงได้
8.การจ้างงานที่มีคุณค่าและการเดิบโตทางเศรษฐกิจ
9.อุตสาหกรรม นวัดกรรม โครงสร้างพื้นฐาน
ลดความเหลือมส้ำ
เมืองและถิ่นฐานมนุษย์อย่างยั่งยืน
12.แผนการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน
13.การรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การใช้ประโยชน์จากมหาสมุทรและทรัพยากรทางทะเล
6.การจัดการน้ำและสุขาภิบาล
การใช้ประโยชน์จากระบบนิเวศทางบก
สังคมสอบสุข ยุติธรรมไม่แบ่งแยก
17.ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ความเท่าเทียมทางเพศ
การศึกษาเท่าเทียม
มีสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี
2.ขจัดความหิวโหย
1.ขจัดความยากจน
1.นวัตกรรม
1.2 รูปแบบของเทคโนโลยีและนวัดกรรม
เทคโนโลยี คือ หลักการที่พัฒนาจากความรู้พื้นฐาน เช่นเทตโนโลยีการปรับอากาศ ที่เกิดจากการสร้างเครื่องปรับลากาศจากวิทยาการเทอร์ไมได
นามิกส์
ตัวอย่างผลิตภัณฑ์สร้างจากความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เช่น ดินสอ
คอมพิวเตอร์ รถยนต์ โทรศัพท์ ดาวเทียม
1ควาใส่ไพ้นธ์ของเทคโนโลยีและนวัดกรรม
เทคโนวิลยีคือ วิทยาศาสตร์ที่น่าเอาความรู้ทาง
วิทยาศาสตร์มาไข่ให้เกิด
ประโยชน์ในทางปฏิบัติเป็นอุดสาหกรรม