Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินภาวะสุขภาพ 6 ระบบ - Coggle Diagram
การประเมินภาวะสุขภาพ 6 ระบบ
ระบบ Heent
การตรวจตา(Eyes)
การตรวจหู(Ears)
การดู(Inspection)
ใบหู : หูจะอยู่ในระดับเดียวกับสายตา เอียงประมาณ 10 องศาในแนวตั้ง ถ้าสูงหรือต่ำ พบในคนปัญญาอ่อน ดูรูปร่างและบริเวณใกล้เคียงว่ามีก้อน ตู้มน้ำหรือไม่
ช่องหู : ใช้อุปกรณ์ คือ ไฟฉาย หรือ Otoscope เลือกใช้ Speculum อันใหญ่ก่อน โดยให้ผู้รับบริการเอียงศีรษะไปด้านตรงข้าม ผู้ตรวจจับใบหูดึงเฉียงไปด้านบน ส่องดูว่ามีการอักเสบ หรือสิ่งคัดหลังหรือไม่
แก้วหู : ส่องไฟฉายพบแก้วหูเหมือนกระจกฝ้า สีเทา สะท้อนแสงวาว หากพบแก้วหูบุ๋ม หรือโป่งออก หูชั้นนอกมีสีแดง เกิดการอักเสบของหูชั้นกลาง ถ้าเห็นเป็นรูโหว่ แสดงว่าแก้วหูทะลุ
การคลำ(Palpation)
ผู้ตรวจใช้ลายนิ้วคลำใบหู หาก้อน กดเจ็บหรือไม่ หากจับใบหู หรือติ่งหูขยับ แล้วผู้รับบริการปวดมาก หรือถ้ากดแล้วปวด เกิดการการอักเสบของหูส่วนนอก ของกระดูก Mastoid หรือต่อมน้ำเหลืองหลังใบหู
การได้ยิน
2.ตรวจโดยการทดสอบรินเน่(Rivne test) : ใช้ส้อมที่ทำให้สั่นวางที่หลังหู(Mastoid process) หากหยุดสั่นให้ผู้รับบริการพยักหน้า จากน้ำรีบนำส้อมมาวางที่หน้ารูหูให้ตรงกับรูหู ทำทั้ง 2 ข้าง ได้ยินเท่ากันแสดงว่าการนำเสียงทางอากาศดีกว่าโดยกระดูก
3.ตรวจโดยการทดสอบวีเบอร์(Weber test)
1.ตรวจโดยการกระซิบ : ผู้รับบริการยืนห่างผู้ตรวจ 2-3 ฟุตด้านหลังหูที่ตรวจ ปิดหูข้างที่ไม่ได้ตรวจ พูดกระซิบเบาๆ เช่น 1 2 3
การตรวจศีษะ(Head)
การดู(Inspection)
ศีรษะ : รูปร่าง(Contour) ขนาด(Size) ความสมมาตร(Symmetry)ตำแหน่ง(Position) และความผิดปกติ(Deformities)
ผม : การกระจายของเส้นผม(Hair distribution)การแตกแห้ง กรอบ ขาดร่วง มัน หรือมีเหาหรือไม่
หนังศีรษะ : การอักเสบ แผล รังแค ก้อน
การคลำ(Palpation)
ผู้ให้บริการใช้ปลายนิ้วชี้ นิ้วกลาง และนิ้วนาง คลำเบาๆทั่วศีษะ เริ่มจากด้านหน้าไปถึงท้ายทอย หาความผิดปกติ เช่น บาดแผล ก้อน(Mass) การกดเจ็บ(Tenderness)
การตรวจมูก(Nose)
การตรวจต่อมไทรอยด์(Thyroid gland)
การตรวจใบหน้า
การดู(Inspection)
การแสดงออกสีหน้าอารมณ์ ความสมมาตร(Symmetry) อาการบวม มีก้อน มีตุ่ม มีผื่น มุมปากด้านใดด้านหนึ่งตกหรือไม่ การเคลื่อนไหว ตำแหน่ง(Position) สีผิว การกระตุก รอยโรค บาดแผล รอยฟอกช้ำ เช่น รอยช้ำรอบดวงตา หรือบริเวณกระดูก
กาคลำ(Palpation)
หาตำแหน่งหรือก้อนบนใบหน้า ตรวจหาความแข็งแรงของกล้ามเนื้อที่ใช้เคี้ยวอาหาร ประกอบด้วยกล้ามเนื้อมัดใหญ่ 3 มัด
1.กล้ามเนื้อ Tempolaris กล้ามเนื้อรูปพัด ทำหน้าที่ยกขากรรไกรล่างขึ้น ให้ผู้รับบริการกัดฟัน ผู้ตรวจเอามือคลำที่ขมับทั้ง 2 ข้าง ปกติพบการเกร็งตัวของกล้ามเนื้อเท่ากันทั้งสองข้าง
2.กล้ามเนื้อ Massector อยู่ด้านกระดูกขากรรไกรล่าง ทำหน้าที่ยกขากรรไกรล่างขึ้น ผู้รับบริการกัดฟันให้แน่น ผู้ตรวจเอามือคลำที่แก้มบริเวณฟันกรามทั้ง 2 ข้าง ปกติจะพบการเกร็งตัวเป็นสันนูนเท่ากัน 2 ข้าง
3.กล้ามเนื้อ Pterygoid กล้ามเนื้อที่เป็นแนวนอน บริเวณส่วนล่างของขากรรไกรล่าง ทำหน้าที่อ้าปาก และยื่นขากรรไกร ผู้รับบริการอ้าปากเต็มที่ ผู้ตรวจใช้มือดันคางขึ้น กดศีษะลงเพื่อหุบปาก ปกติจะสามารถต้านแรงตรวจได้ ไม่มีอาการเของมุมปาก
การตรวจบริเวณ Temporomandibular joint (TMJ) บริเวณรอยต่อของกระดูก Mandible ผู้ตรวจใช้นิ้วชี้วางบริเวณหน้าต่อรูหูทั้ง 2 ข้าง ผู้รับบริการอ้าปาก จะสัมผัสได้ว่านิ้วเคลื่อนที่ลึกลงไปในช่องรอยต่อ ประเมินการกดเจ็บ บวม หากมีการเจ็บแสดงถึงอาการอักเสบบริเวณข้อต่อ หรือกระดูกหัก ร้าว
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
การดู
ตรวจตา : ว่ามีภาวะซีดหรือไม่
ตรวจภายในปาก : ให้ผู้ป่วยอ้าปากหรือกระดกลิ้นขึ้น เพื่อดูว่ามี central cyanosis (อาการเขียวคล้ำ)
ตรวจหน้าอก : มีลักษณะโปร่งหรือบุบ
ตรวจมือ
ข้อนิ้วมือ : Osler node(รอบโปนที่ผิวหนัง)
นิ้วมือมีลักษณะ : Clubbing of fingers(นิ้วปุ่ม)
สีเล็บSplinter : hemorrhage (จุดเลือดออกใต้เล็บ)หรือJaneway lesion (จุดแดง)
ใช้นิ้วกดที่หน้าแข้งผู้ป่วยแล้วปล่อยดูว่ามีลักษณะ Pitting edema เรียกว่า บวมกดบุบหรือไม่
ตวรจคอ : เพื่อดูลักษณะไทรอยด์ว่าโตผิดปกติหรือไม่
ตวรจชีพจรบริเวณข้อมือ : นับการเต้นและดูความสม่ำเสมอเป็นอย่างไร
การคลำ
ท่านอนศีรษะสูง 45 องศา
ท่านอนราบ
ลบให้หน่อยยยย
การฟัง
ด้านDiaphragm ใช้สำหับการฟังที่มีความถี่สูง มักจะเป็นหัวใจเต้นผิดปกติส่วนใหญ่ กดให้แน่น
ด้านBell ใช้สำหับการฟังที่มีความถี่ต่ำ เสียงS3,S4 ไม่ควรกดให้แน่น
ตรวจบริเวณ Precordium
Aortic Valvular Area (AVA) อยู่ช่องซี่โครงที่ 2 ขวามือ ติดกระดูกSternum
Pulmonic Valvular Area (PVA) ช่องซี่โครงที่ 2 ซ้ายมือ ติดกระดูกSternum
Tricuspid Valvular Area (TVA) ช่องซี่โครงที่ 5 ซ้ายมือ ติดกระดูกSternum
Mitral Valvular Area (MVA) ช่องซี่โครงที่ 5 ซ้ายมือ ตัดกับMidclavicular line
ตรวจบริเวณช่องท้อง
ว่ามีลักษณะ pulsatile abdominal mass หากสังเกตแล้วไม่มีให้ใช้เครื่องมือการฟังไปที่บริเวณช่องท้องเพื่อตรวจหา abdominal bruit เกิดจากการติบของหลอดเลือดในช่องท้อง
ลบให้หน่อยยย
ระบบทางเดินอาหารและการขับถ่าย
กายวิภาคศาสตร์และสรีระวิทยาของระบบทางเดินอาหาร
1.อวัยวะในระบบทางเดินอาหาร
1.1 ช่องปาก (Oral cavity)
1.2 ลำคอ (Pharynx)
1.3 หลอดอาหาร (Esophagus)
1.4 กระเพาะอาหาร (Stomach)
1.5 ล าไส้เล็ก (Small intestine)
1.6 ล าไส้ใหญ่(Large intestine)
อวัยวะที่ช่วยย่อยในระบบทางเดินอาหาร
2.1 ต่อมน้าลาย (Salivary Gland)
2.2 ตับอ่อน (Pancreas)
2.3 ตับ (Liver)
2.4 ถุงน้าดี (Gall bladder)
ระบบหายใจ
การตรวจผิวหนังและกล้ามเนื้อ
การตรวจเล็บ
การดู Inspection
เพื่อประเมินสีผิว หรือความผิดปกติ สังเกตรอยแผลเก่า แผลสด รอยด่างดำ ความมัน ความหยาบของผิวหนัง
Papule ผื่นแดงนูน
Maculopapular ผื่นแดงราบ+แดงนูน
Vesicle ตุ่มน้ำใสๆ
Bulla ตุ่มน้ำใส ใหญ่กว่า 1 ซม.
Pustule ตุ่มหนอง
Macule แดงคล้ำเล็กๆ หลายรอย
Erythema แดงเข้มเหมือนอักเสบ
เล็บสีชมพู แสดงว่า เป็นเล็บสีปกติ
เล็บสีเขียวคล้ำ แสดงว่า มีการขาดออกซิเจน (Cynosis)
เล็บสีซีด แสดงว่า โลหิตจาง
ระบบประสาท
การตรวจร่างกายทางระบบประสาท
1.Mental Status การประเมินสภาพด้านจิตใจ
2.Cranial Nerve Assessment การประเมินเส้นประสาทสมอง
3.Reflex Testing การทดสอบรีเฟล็กซ์
4.Motor system Assessment การประเมินมอเตอร์
5.Sensory system Assessment
เครื่องมือที่ใช้ตรวจระบบประสาท