Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
งานวิจัย อาการจิตเวชที่สัมพันธ์กับผู้ใช้กัญชาทางการแพทย์ - Coggle Diagram
งานวิจัย
อาการจิตเวชที่สัมพันธ์กับผู้ใช้กัญชาทางการแพทย์
หลักการและวัตถุประสงค์
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง
กับ
การเกิดอาการทางจิตเวช
ชนิดกัญชาทางการแพทย์ที่ใช้
อาการสำคัญที่มารับการรักษา/ข้อบ่งชี้
ปัจจัยส่วนบุคคล
คำถามการวิจัย
1.ปัจจัยส่วนบุคคลสัมพันธ์กับการเกิดอาการทางจิตเวชโดยรวม 1 อาการ ขึ้นไป ในผู้ใช้กัญชาทางการแพทย์
หรือไม่อย่างไร
2.ปัจจัยส่วนบุคคลและกัญชาทางการแพทย์ สัมพันธ์กับอาการทางจิตเวช
หรือไม่อย่างไร
สมมุติฐานการวิจัย
1.ปัจจัยส่วนบุคคลสัมพันธ์กับการเกิดอาการทางจิตเวชโดยรวม 1 อาการ ขึ้นไป ในผู้ใช้กัญชาทางการแพทย์
2.ปัจจัยส่วนบุคคลและกัญชาทางการแพทย์ สัมพันธ์กับอาการทางจิตเวชหลังการใช้กัญชาทางการแพทย์
กรอบแนวคิดการวิจัย
ปัจจัยส่วนบุคคล
ตัวแปรอิสระ(X)
1.อายุ
2.เพศ
3.อาการสำคัญที่มารักษา
4.ชนิดกัญชาทางการแพทย์ที่ได้รับ
ตัวแปรตาม(Y)
1.อาการทางจิตเวชโดยรวม 1 อาการขึ้นไป
ตัวแปรตาม(Y)
1.อาการทางจิตเวชแยกรายอาการ 15 รายการ
วิธีการศึกษา
รูปแบบการศึกษา
ศึกษาย้อนหลังเชิงพรรณนา
(retrospective descriptive study)
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
รวบรวมข้อมูลทุติยภูมิจากผู้เข้ารับบริการกัญชาทางการแพทย์ จากระบบรายงานและติดตามการดำเนินการให้บริการกัญชาทางการแพทย์(Canabis Clinic Data Center : C-MOPH) ปีงบประมาณ 2563 จำนวน 7,533 ราย
เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล
C - MOPH
การรับรองทางจริยธรรมการวิจัย
การเก็บรวบรวมข้อมูลได้รับการรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์โดยคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคน ด้านสุขภาพจิตและจิตเวช
การประมวลผลข้อมูล
วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้วิธีการทางสถิติที่เหมาะสมและถูกต้องกับรูปแบบการวิจัย วิเคราะห์ข้อมูลทั้งหมดด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ
1.ใช้สถิติเชิงพรรณนา
2.วิเคราะห์ความสัมพันธ์ สถิติถดถอย พหุโลจิสติกส์ และสถิติไคสแควร์ ตามสมมุติฐานและกรอบการวิจัยวิเคราะห์แบบคราวละปัจจัยก่อน แล้วจึงวิเคราะห์แบบคราวละหลายปัจจัย กำหนดระดับนัยสำคัญที่ 0.05
ผลการศึกษา
ความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ เพศ อาการสำคัญที่มารักษา/ข้อบ่งชี้ กัญชาทางการแพทย์กับการเกิดอาการทางจิตเวช แยกรายอาการที่เกิดขึ้น ในผู้ที่ใช้กัญชาทางการแพทย์ วิเคราะห์ด้วยสถิติไคสแควร์ กับปัจจัยที่ศึกษาทั้ง 4 ด้าน พบว่า สัมพันธ์กับการเกิดอาการ ทางจิตเวช อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ประกอบด้วย
1.อายุ
2.เพศ
3.อาการสำคัญที่มารักษา/ข้อบ่งชี้
4.ชนิดกัญชาทางการแพทย์ที่ได้รับ
บทวิจารณ์
จากผลการศึกษาพบว่ามีการใช้กัญชาทางการแพทย์ในกลุ่มผู้สูงอายุมากที่สุด เนื่องจากให้ผลทางด้านการผ่อนคลายและบรรเทาอาการความเจ็บป่วยจากโรคต่างๆได้ดี
บทสรุป
1.ปัจจัย 4 ด้านดังกล่าวมีความสัมพันธ์กับสัญญาณเตือนทางสุขภาพจิตบางอาการ
2.ปัจจัยที่ทำให้เกิดทางจิตเวช อย่างน้อย 1อาการ คือ อาการสำคัญที่มารักษา/ข้อบ่งชี้ ของผู้ใช้กัญชาทางการแพทย์ ซึ่งมี 4 ข้อบ่งชี้ได้แก่
1.)โรคปลอกประสาทอักเสบอื่นๆ
2.)ภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็งในผู้ป่วยโรคเสื่อมแข็ง
3.)โรคพาร์กินสัน
4.)และกรณีมีอาการ 2 อาการขึ้นไป
"ดังนั้นการรักษาด้วยกัญชาทางการแพทย์ จึงควรเฝ้าระวังการเกิดอาการทางจิตเวช"
ผลการศึกษา(ต่อ)
พบว่า ไม่เกิดอาการทางจิตเวชร้อยละ 96.73 เกิดอาการทางจิตเวช ร้อยละ 3.27 โดยพบมากที่สุด ได้แก่ อาการซึมเศร้า ร้อยละ 2.05 โดยปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเกิดอาการทางจิตโดยรวมอย่างน้อย 1 อาการขึ้นไปหลังได้รับกัญชาทางการแพทย์ มีเพียงปัจจัยเดียวที่สัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ คือ อาการสำคัญที่มารักษา/ข้อบ่งชี้ ซึ่งมี 4 ข้อบ่งชี้ ได้แก่ ภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็งในผู้ป่วยโรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง โรคพาร์กินสัน โรคปลอกประสาทอักเสบอื่น ๆ และมีตั้งแต่ 2 อาการร่วมกัน ทั้งนี้ เมื่อแยกตามการเกิดอาการทางจิตเวช ที่เกิดขึ้น พบปัจจัยด้านอายุ เพศ อาการสำคัญที่มารักษา/ข้อบ่งชี้ และชนิดกัญชาทางการแพทย์สัมพันธ์กับอาการทางจิตเวชบางอาการ
เกณฑ์คัดเข้า
1.เป็นผู้มีโรคทางกายหรือมีภาวะแทรกซ้อนจากโรคทางกาย
2.ได้รับกัญชาทางการแพทย์อย่างใดอย่างหนึ่ง
3.ไม่มีข้อห้ามทางจิตเวชที่กำลังป่วยหรือมีอาการทางจิตเวช
สรุปเป็นข้อมูลผู้ป่วยที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์
จำนวน 6,202 ราย
เกณฑ์คัดออก
1.ได้รับกัญชาทางการแพทย์อย่างน้อย 2 ชนิดขึ้นไป
2.ข้อมูลบันทึกไม่ครบถ้วน หรือผู้ใช้กัญชาทางการแพทย์สูญหายหรือไม่สามารถติดตามได้