Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
[สรุป การตรวจร่างกายระบบ HEENT /Musculoskelation/Neuro Examination] -…
[สรุป การตรวจร่างกายระบบ HEENT /Musculoskelation/Neuro Examination]
[การตรวจร่างกายตามระบบตั้งตั้แต่ศีษะจรดเท้า]
การตรวจลักษณะทั่วไป
การตรวจศีรษะถึงลําคอ
การตรวจศีรษะ
1.การดู
1.1 ศีรษะ: ดูรูปร่าง ขนาดและความสมมาตร
1.2ผม : ดูการกระจายของเส้นผม ดูลักษณะว่า แตกแห้ง กรอบ ขาด ร่วง มีเหาหรือไม่
1.3 หนังศีรษะ: ดูการอักเสบ มีแผล รังแค ก้อน หรือสิ่งผิดปกติ อื่นๆ
การคลํา
ผู้ตรวจยืนด้านหน้าของผู้ใช้บริการ ใช้ปลาย นิ้วชี้ นิ้ว กลาง และนิ้วนาง คลําวนเบาๆ ให้ทั่ว ศีรษะ เพื่อค้นหาก้อนผิดปกติ ต่าง ๆ โดยเริ่มจาก ด้านหน้า ไล่ไปจนทั่ว ถึงท้ายทอย และคลําต่อ มน้ําเหลืองบริเวณท้ายทอย(Occipital lymph node)
หนังศีรษะและกะโหลกศีรษะ(Scalp & skull) -กดเจ็บ ไหม(tenderness) - มีก้อนไหม( mass)
Occipital Lymph node
การตรวจบริเวณใบหน้า
ดู
1.1 ความสมมาตร
1.2 การแสดงออกของใบหน้า
1.3 รอยโรค
1.4 การเคลื่อนไหวผิดปกติ
2.คลำ
2.1 กดเจ็บไหม(tenderness)
2.2 มีก้อนไหม( mass)
2.3 lymph node
Pre-auricular lymph node wůnyuslamüün Tragus
2.Post- auricular lymph node หลังหู ด้านบนของ
Submental lymph node alønns
4.Submaxillary or submandible lymph node alun
Tonsillar Lymph node อยู่ใต้มุมขากรรไกร
ทดสอบเส้นประสาทสมอง
3.1 ทดสอบเส้นประสาทสมองคู่ที่ 5 (TEST CRANIAL NERVE V)
3.1.1SENSORY(ตรวจการรับความรู้สึกบริเวณ ใบหน้า) : LIGHT TOUCH, PAIN SENSATION 1) บอกให้ผู้รับบริการหลับตา ใช้สําลีและไม้ปลายแหลมแตะหน้าผาก แก้ม คาง ด้านซ้าย -ขวา 2) ถ้ารู้สึกให้บอกหรือพยักหน้า
3.1.2 MOTOR (ตรวจการทํางานของกล้ามเนื้อบด เคี้ยว )(TEMPOROMANDIBULA JOINT, MASSETER MUSCLE) บอกให้ผู้รับบริการ กัดฟัน ผู้ตรวจคลํา TEMPORAL MUSCLE และ MASSETER MUSCLE ทั้ง 2ข้าง
3.2 ทดสอบเส้นประสาทสมองคู่ที่ 7 (TEST CRANIAL NERVE VII) : MOTOR (PACIAL NERVE) - บอกให้ผู้รับบริการ เลิกคิ้ว หลับตาปี ยิงฟัน ทําปากจู๋เป่าลม แก้มป่อง
การตรวจตา
1.ดู
1.1 ลักษณะตาภายนอก( External structure) : คิ้ว ตําแหน่งตา ลูกตา ม่านตา เปลือกตา ความชุ่ม ชื้น การกระพริบตา ความนูนของลูก ตาเพื่อดูตา โปน(exopthalmos)
1.2 scleras and Conjunctiva (ตาขาวและเยื่อบุตา) ใช้นิ้วหัวแม่มือ วางบนเปลือกตาบน แล้วดึง ขึ้น ให้ผู้รับบริการเหลือบมองปลายเท้า การ ตรวจด้านล่าง ผู้ตรวจวางนิ้วหัวแม่มือบนเปลือกตาล่าง แล้วดึง ลงให้ผู้ใช้ บริการเหลือบ มองขึ้นข้างบน แล้ว กลอกตามองซ้ายขวา สังเกตตาขาว เยื่อบุตา สี อะไร มีสิ่งแปลกปลอม แผล การบวม ลักษณะ หลอดเลือดที่ ผิดปกติไหม
1.3 Corneas (กระจกตา) ใช้ไฟฉายส่องจากด้านข้างให้ลําแสงฉายผ่าน กระ จกตาโดยเข้าทางด้านข้าง ผู้ตรวจมองกระจก ตาจากทางด้านหน้า สังเกตความใส และรอยขีด ข่วนบนกระจกตา
2.การทดสอบ (Test)
2.1 visual field การตรวจลานสายตา) (CN II: Optic nerve) เป็นการตรวจอาณาเขตหรือบริเวณโดยรอบที่ตา สามารถเห็นได้
1) ผู้ตรวจยืนห่างผู้รับบริการ 2 ฟุต
2) มองปลายจมูกของกันและกัน
3) ผู้ตรวจ เหยียดแขนออกไปด้านข้าง งอข้อมือ ให้นิ้วชี้และนิ้วกลางอยู่ในระดับตา
4) ผู้ตรวจค่อยๆเลื่อนมือที่ขยับไปมา เข้าหา ผู้รับบริการ เมื่อผู้รับ บริการเริ่มเห็นนิ้วมือของ ผู้ตรวจให้ผู้รับบริการพยักหน้า
5) ผู้ตรวจเปรียบเทียบว่า จุดที่ผู้รับบริการเห็นนิ้ว มือและพยักหน้านั้น เห็นพร้อมกับผู้ตรวจ หรือไม่
6) ผู้ตรวจยกแขนขึ้นสูงสุด และด้านล่าง ตามลําดับ
2.2 Visual acuity (การตรวจการมองเห็น) (CN 2: Optic nerve) ใช้วิธี Reading test
1.บอกให้ผู้รับบริการปิดตาทีละข้าง
ผู้ตรวจวางกระดาษที่มีตัวหนังสือชนิดพิมพ์ ในระดับสายตา และ ห่างตาประมาณ 14 นิ้ว
ผู้ตรวจชี้ตําแหน่งให้อ่าน
เมื่ออ่านแล้วให้เปลี่ยนไปตรวจตาอีกข้าง
ถ้าใช้แว่นตาหรือคอนแทกซ์เลนส์ ให้ใส่ ขณะตรวจด้วย
2.3 Extraocular muscle vsa Extraocular movement
1.(ตรวจการทํางานของกล้ามเนื้อตา) (CN II, IV, VI) บอกผู้รับบริการให้มองตามปลายนิ้วชี้ของ ผู้ตรวจ
ผู้ตรวจค่อยๆเลื่อนปลายนิ้วไปด้านขวามือ ช้าๆ และสังเกต การเคลื่อนไหวของลูกตา ผู้รับบริการ
เมื่อตาดําเคลื่อนมาอยู่หางตา ผู้ตรวจเลื่อนมือ กลับมาจุด เดิม ให้ตาด่าอยู่ตรงกลาง
หมุนมือให้นิ้วชี้อยู่ในแนวขวาง เลื่อนมือขึ้นข้างบน เมื่อผู้รับ บริการกรอกตาขึ้น สูงสุดให้หยุด แล้วเลื่อนมือลงด้านล่าง
2.4 eye convergence Test Accommodation reflex(การตรวจปฏิกิริยา ปรับตาดูใกล้ไกล)บอกให้ผู้รับบริการจ้องมองตามปลายนิ้วหรือ ปลายดินสอที่เคลื่อนเข้าหาดั้งจมูกของ ผู้รับบริการผู้ตรวจสังเกตรูม่านตาหดตัวผ่านการทํางาน ของCN 3 และการลู่เข้าของตาดํา
2.5 Test pupil react to light (การตรวจ ปฏิกิริยาของรู ม่านตาต่อแสง) (CN3) : เป็นการ ตรวจขนาดของรูม่านตา รูป ร่าง การตอบสนอง ต่อแสง เปรียบเทียบความเท่ากันของทั้ง 2 ข้าง วิธีการตรวจ direct light reflex
1.ให้ผู้รับบริการมองไกลตรงไปข้างหน้า
2.ผู้ตรวจดูรูม่านตา ขนาด รูปร่าง ความเท่ากัน 3.ใช้ไฟฉายที่ล่าแสงแคบ ส่องไฟจากด้านข้าง ผ่านไปที่รูม่านตาทีละข้าง
การตรวจหู
ดู
1.1 หูภายนอก
1.1.1 รูปร่าง ตําแหน่งและผิวหนัง ของใบหู และ บริเวณใกล้เคียงมีก้อน ถุงน้ํา หรือ ตุ่มหนองหรือไม่
1.2 รูหู(Car canals) ใช้อุปกรณ์ช่วยคือ ไฟฉาย โดย ให้ผู้ใช้บริการเอียงศีรษะไปด้านตรงข้าม ผู้ตรวจดึงใบหู เพื่อปรับรูหูให้อยู่ในแนวตรงทําให้เห็นรูหูชัดเจน ซึ่งใน ผู้ใหญ่ให้จับใบหูตึงเฉียง ขึ้นด้านบนเปิดไฟฉาย ส่องดูใน ช่องหู สังเกตว่า มีขี้หูมีการอักเสบ หรือมีสิ่งคัดหลั่งออกมา หรือไม่
คลํา
ผู้ตรวจใช้ใช้นิ้วหัวแม่มือ และนิ้วชี้คลําใบหู ทุกส่วน เพื่อประเมินว่ามีก้อน บวม กดเจ็บ หรือไม่รายที่สงสัยว่ามีการอักเสบของหูส่วนนอก เมื่อผู้ตรวจจับใบหูหรือ ติ่งหู ผู้ใช้บริการจะปวด มาก หรือ ถ้ากดบริเวณกกหูแล้วปวด แสดงว่ามีการอักเสบ ของกระดูกมาสตอยด์ หรือต่อมน้ําเหลือง หลังหู
3.การทดสอบการได้ยิน(Test hearing) (CN VIII : Auditory(Acoustic) nerve)
1วิธีกระซิบ(Whispering test) 1)บอกผู้รับบริการว่าจะขอตรวจการได้ยิน หากได้ยินเสียงขอให้พูดตาม
2) ให้ผู้รับบริการใช้มือ อุดหูข้างที่ไม่ต้องการตรวจไว้
3) ผู้ตรวจยืนด้านหลังเยื้องห่างจากผู้ป่วย 2 ฟุต ด้านหูข้างที่ตรวจ
4) ผู้ตรวจพูดกระซิบ หรือพูดเป็นคําเบาๆ เช่น หนึ่ง สอง สาม
5) บอกให้ผู้รับบริการทวนคําพูดที่ได้ยิน
6) เริ่มตรวจการได้ยินของหูอีกข้างเช่นเดิม
การตรวจจมูก
1.ดู
1.1 ลักษณะภายนอก (External) - symmetry Lesions - Atae nasi (ปีกจมูก) : มีการบานออก และหุบเข้า ในขณะหายใจเข้า-ออกใหม
1.2 รูจมูก (Nares) : ให้ผู้ป่วยแหงนหน้าขึ้นเล็ก ใช้นิ้วหัวแม่มือแตะจมูกและนิ้วกลางแตะน้อย ผู้ตรวจ บริเวณ ศีรษะแล้วดึงรั้งจมูกขึ้น ขณะเดียวกันผู้ตรวจ ใช้ไฟฉายส่องเข้าไปในรูจมูก - เยื่อบุจมูก (nasal mucosa) -ผนังกั้นช่องจมูก(septum) - เยื่อบุจมูกที่คลุมเทอร์บิเนต(turbinates)
2.คลำ
2.1 Frontal sinuses ผู้ตรวจใช้นิ้วหัวแม่มือกดและดันขึ้นเหนือ ลูกตา บริเวณหัวคิ้ว ดูว่าผู้รับบริการมีอาการกดเจ็บ ไหม
2.2 Maxillary sinuses ผู้ตรวจใช้นิ้วหัวแม่มือกดและดันขึ้นที่ โหนก แก้มระดับเดียวกับปีกจมูก ดูว่าผู้รับบริการมี อาการกดเจ็บไหม
ทดสอบการได้กลิ่น
1.ตรวจรูจมูก 2 ข้างไม่ตัน
บอกให้หลับตา
อุดจมูกทีละข้าง
ผู้ตรวจเตรียมกลิ่นสิ่งของที่ผู้รับบริการรู้จัก เช่น สบู่ แอมโมเนีย ฯลฯ และให้บอกว่ากลิ่น อะไร
การตรวจช่องปากและคอ
1.ดู
1.1ริมฝี ปาก
1.2เยื่อบุกระพุ้งแก้ม
1.3 เหงือก
1.4 ฟัน
1.5 ลิ้น
1.7 ต่อมทอนซิล
1.8 pharynx
1.9 เพดานปาก
1.10 ลิ้นไก่
ทดสอบการรับรส
1.บอกให้ผู้รับบริการหลับตาและอ้าปาก
2.ผู้ตรวจใช้ไม้แตะเกลือหรือนํ้าตาล วางบน บริเวณ 2 ใน 3ส่วนทางด้านหน้าของลิ้น
3.ผู้รับบริการบอกว่ารสเกลือหรือนํ้าตาล
การตรวจบริเวณคอ
1.ดู
1.1 Symmetry
1.2 Lesions
1.3 Thyroid gland
1.4 Neck vein engorgement
2.คลำ
2.1 Trachea
ผู้ตรวจวางนิ้วชี้ที่ supra sternal
notch แล้ว เคลื่อนที่เป็นเส้นตรงขึ้นข้างบน
1.ถ้าคลํา lobe ขวา ให้ผู้รับบริการเอียงศีรษะไป ทางขวาและก้มหน้าเล็กน้อย
2.ใช้นิ้วหัวแม่มือขวาดันหลอดลมตรงตําแหน่ง Cricoidcartilage เบาๆ
3.จับ lobe ขวา ด้วย นิ้วชี้ นิ้วกลาง และหัวแม่มือซ้าย
2.3 Lymph node (ต่อมนํ้าเหลือง) บริเวณคอ
1.uperficial cervical lymph node ส่วนบน ของกล้ามเนื้อSternocleidomastoid
2.Posterior cervical chain lymph node ด้านหน้า ของกล้ามเนื้อTrapezius
3.Deep cervical chain lymph node อยู่ลึก หลังกล้ามเนื้อSternocleidomastoid
4.Supraclavicular lymph node เหนือ กระดูกไหปลาร้า
Test Cr.N. XI (motor) (ตรวจความแข็งแรงของกล้ามเนื้อคอ) Cr.N. XI : Spinal Accessory nerve ควบคุมกล้ามเนื้อ Sternomastoid และ Trapezius
การตรวจลักษณะทั่วไป
State of health ดูความสมบูรบูณ์ของร่างกาย
State of distress ดูการแสดงออกของหน้าเหงื่อ การพยายามปกป้อป้งบริเริวณที่เที่จ็บปวด
Stature and posture ดูรูปร่างและท่ายืนเดิน (Gait) อัตตราส่วนระหว่างแขนขา ส่วนสูง
Weight ดูว่าอ้วนหรือผอม เปรียบเทียบกับน้ําหนักมาตรฐาน
Personal hygiene ดูสุดูขสุวิทยาส่วส่นบุคคล การแต่งกาย
Speech , mood , state of awareness and consciousness ของผู้ป่วย
การตรวจเล็บและผิวหนัง
1.ดู (Inspection)
1.1 สีผิว(Skin color)
1.2 ลักษณะผิวหนัง(Skin texture)
1.3 รอยโรคผิวหนัง(Skin lesion)
2.คลํา(Palpation)
2.1 ความตึงตัว(Skin turgor) โดยใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้จับหยิบผิวหนังและ ไขมันใต้ผิวหนังขึ้นแล้วปล่อยสังเกตผิวหนังจีบแล้วหายไปเร็วหรือช้า
2.2 อุณหภูมิผิวหนัง(Temperature) โดยใช้หลังมือวางเปรียบเทียบในบริเวณที่เหมือนกันตรวจสอบความอุ่นอุ่ ร้อน เย็น
2.3 ความชุ่มชื้น(Moisture)
2.4 รอยโรคผิวหนัง(Skin lesion)2.5 การบวม (Edema) - โดยใช้นิ้วหัวแม่มือ(นิ้วเดียว) หรือนิ้วชี้(นิ้วเดียว) หรือนิ้วชี้ นิ้วกลาง นิ้วนาง(สามนิ้วนิ้)กดลง
การตรวจร่างกาย ระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ
General appearance
ลักษณะภายนอกของที่ควรดูและสังเกต
ท่าทางและลักษณะการเดินของผู้ป่วย
ข้อจ่ากัดของการเดิน เช่น เดินไม่สะดวกเพราะมีอาการเจ็บที บริเวณข้อเท้า
ความสมมาตรของกล้ามเนื้อในส่วนต่างๆ
ลักษณะหรือความสามารถในการเคลื อนไหวของข้อต่างๆ
History talking
อาการที่พบได้บ่อย
ปวด (Pain) ชา (Numbness) ตามแขนขาหรือข้อต่อ
กระดูกสันหลังคดหรือโก่ง ค่อม หลังแอ่น
ก้อนตามแขน ขา กล้ามเนื้อลีบ บวม แดง ปวดและร้อน
การเคลื อนไหวอ่อนแรง (Weakness) ไม่มั นคง (Instability)
อาการสั่น(Tremors)
ข้อติดแข็ง (Stiffness)
ขยับแขนขาไม่ได้ (Paralysis)
ตะคริวแขน ขา (Cramping)
ข้อมูลพื้นฐาน
อายุ
เพศ
อาชีพ
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีตหรือโรคเรื้อรัง
ประวัติการใช้ยา
Spine
การดู
-ดูบริเวณศีรษะและล่าคอ ว่ามีการผิดรูปหรือไม่
-โดยปกติกระดูกสันหลังระดับคอจะแอ่นประมาณ20 – 40 องศา
การคลำ
จะคลำ Spinous process ของ C7 ได้ที่บริเวณฐานของคอ โดยคลำดูว่ามีการกดเจ็บผิดรูปเคลื่อนหรือไม่
การขยับ
Flexion ก้มหน้าคางแตะหน้าอก 45 องศา
Extension เงยหน้าขึ้น ให้ศีรษะไปด้านหลัง 55 องศา
Rotation หันศีรษะไปด้านข้าง พยายามให้คางแตะหัวไหล่ 70 องศา
Lateral bending เอียงศีรษะไปด้านข้าง พยายามให้หูแตะกับหัวไหล่แต่ละข้าง โดยที ไม่ยกหัวไหล่ขึ้น 40 องศา
Thoracic & Lumbar spine
การดู
มีหลังคด (Scolosis)
หลังโก่ง (Lordosis)
หลังค่อม (Kyphosis)
การคลำ
จะคลำบริเวณ iliac crests และ posterior iliac spines หากมีการกดเจ็บบริเวณ spinous process และ paravertebral muscle ในระดับ L4 ถึง S1 อาจบ่งชี้ว่ามีภาวะ herniated intervertebral disc ได้
การตรวจ Straight leg raising test (SLRT)
จะคลำบริเวณ iliac crests และ posterior iliac spines หากมีการกดเจ็บบริเวณ spinous process และ paravertebral muscle ในระดับ L4 ถึง S1 อาจบ่งชี้ว่ามีภาวะ herniated intervertebral disc ได้
การขยับ
Flexion ก้มตัวลงไปสัมผัสเท้า 75 - 90 องศา
Hyperextension เอนตัวไปทางด้านหลัง 30 องศา
Lateral bending เอียงตัวไปทางด้านข้าง 35 องศา
Ratation หมุนไหล่ด้านหนึ งไปข้างหน้าและอีกด้านหนึ งหมุนไปข้างหลัง 30 องศา
Shoulders
การดู
ดูการบวม แดง ร้อน บริเวณข้อต่อของไหล่
การคลำ
ก่อนจะคล่าบริเวณข้อไหล่ ควรสอบถามผู้ป่วยว่ามีอาการปวดหรือไม่ ถ้าระบุต่าแหน่งได้ ให้ชี้ต่าแหน่งที ปวด โดยจะตรวจต่าแหน่งดังกล่าวเป็นล่าดับสุดท้าย โดยผู้ตรวจใช้ปลายนิ้วคล่าตั้งแต่บริเวณกระดูก Clavicle , Humerus , Greater tubercle of humerus (ท่าabduct ของ shoulder จะคล่าง่ายขึ้น)
Sternoclavicular joint (SC joint)
Acromioclavicular joint (AC joint)
Subacromial region
Bicipital groove
การขยับ
Flexion ยกแขนไปด้านหน้า โดยยกสูงขึ้นเหนือศีรษะ แขนตรง 180 องศา
Extension ยกแขนไปด้านหลัง แขนตรง 180 องศา
Abduction กางแขนออกด้านข้างขึ้นเหนือศีรษะ
Adduction หุบแขนเข้าหาแนวกึ งกลางล่าตัว ไปทางด้านตรงข้ามมากสุดเท่าที จะท่าได้
Internal rotation กางแขนออกข้างล่าตัวประมาณ 90 องศา งอข้อศอก 90 องศามาทางด้านหน้าล่าตัว ควำฝ่ามือลง หมุนแขนทวนเข็มนาฬิกา
External rotation กางแขนออกข้างล่าตัวประมาณ 90 องศางอข้อศอก 90 องศามาทางด้านหน้าล่าตัว ควำฝ่ามือลง หมุนแขนตามเข็มนาฬิกา
Hands
การดู
ดูการบวม แดง ร้อน บริเวณนิ้วมือ
การคลำ
DIP (Distal Interphalangeal joint) และ PIP(Proximal Interphalangeal joint) คลำทั้งด้าน medial และ ด้าน lateral ด้านบนและด้านล่าง โดยใช้นิ้วชี้และนิ้วโป้งคล่าดูว่ามีภาวะบวม กดเจ็บ หรือมี bony enlargement
MCP (Metacarpophalangeal joint) ให้ผู้ป่วยงอข้อมือเล็กน้อย จากนั้นใช้นิ้วโป้งและนิ้วชี้คล่าและกดบริเวณ MCP joint จากคนละด้านของฝ่ามือ คล่าดูว่ามีภาวะบวม กดเจ็บ
การขยับ
Flexion ของนิ้วมือ งอนิ้วเข้าหาตนเอง ผู้ตรวจออกแรงต้าน
Extension ของนิ้วมือ ผู้ตรวจใช้มือข้างหนึ งประคองข้อมือผู้ป่วย ผู้ป่วยพยายามเหยียดข้อ metacarpophalangeal ต่อแรงต้านจากมืออีกข้างหนึ่งของผู้ตรวจ
Abduction ของนิ้วมือ กางนิ้วออกจากกัน ผู้ตรวจพยายามบีบนิ้วเข้าหากัน
Adduction ของนิ้วมือ หนีบกระดาษไว้ให้แน่นระหว่างนิ้วมือ ผู้ตรวจพยายามดึงกระดาษออก
Opposition ของนิ้วหัวแม่มือ กดนิ้วหัวแม่มือและนิ้วก้อยเข้าหากันให้แน่น ผู้ตรวจพยายามดึงนิ้วให้หลุดจากกัน
Wrist
การดู
ดูการบวม แดง ร้อน บริเวณข้อมือ
การคลำ
คล่าบริเวณปุ่มกระดูก radius และ ulnar ดูการกดเจ็บหรือผิดรูป
การขยับ
Flexion ผู้ป่วยงอข้อมือให้มากที สุดที ท่าได้ 90 องศา
Extension ผู้ป่วยเหยียดข้อมือออกให้มากที สุดที ท่าได้ 70 องศา
Radial deviation ผู้ป่วยงอข้อมือเล็กน้อย จากนั้นโยกมือเข้าหาล่าตัว 20 องศา
Ulnar deviation ผู้ป่วยงอข้อมือเล็กน้อย จากนั้นโยกมือออกจากล่าตัว 45 องศา
ภาวะผิดปกติที่อาจพบได้
1.Carpal tunnel syndrome เกิดจากการอักเสบของ Median nerve โดยผู้ป่วยจะมีอาการปวดหรือชาฝ่ามือบริเวณนิ้วโป้ง นิ้วชี้ และนิ้วกลาง
2.De quervain's syndrome เป็นภาวะที เกิดจากการเสียดสีระหว่างเอ็นข้อมือและปลอกหุ้มเอ็นข้อมือ ท่าให้เกิดการบาดเจ็บของเอ็นและปลอกหุ้มเอ็น (Extensor retinaculum)ของกล้ามเนื้อ2 มัด
2.De quervain's syndrome วิธีการตรวจ Finkelstein test ให้ผู้ป่วยก่านิ้วหัวแม่มือข้างที ปวด เอียงข้อมือลงไปทางด้านนิ้วก้อย ถ้ามีพยาธิสภาพจะมีอาการปวดบริเวณโคนนิ้วหัวแม่มืออย่างมาก
Elbow
การดู
ดูอาการบวม แดง ร้อน ผิดรูป บาดแผลหรือร่องรอย อุบัติเหตุ การผ่าตัด
การคลำ
จะให้ผู้ตรวจจับบริเวณแขนของผู้ป่วย งอข้อศอกประมาณ 70 องศา หาต่าแหน่งของ Medial ,Lateral epicondyle และ Olecranon ได้
กดเจ็บบริเวณ Medial , Lateral epicondyle สงสัยภาวะเอ็นอักเสบ
กดเจ็บบริเวณ Medial epicondyle บ่งบอกถึงภาวะ Golfer’s elbow
กดเจ็บบริเวณ Lateral epicondyle บ่งบอกถึงภาวะ Tennis elbow
การขยับ
Flexion/Extension ผู้ป่วยเหยียดข้อศอกออกเต็มที จากนั้นงอข้อศอกเข้ามาและเหยียดออกกลับไปในลักษณะเดิม 160 องศา
Supination/Pronation ผู้ป่วยพลิกหงายฝ่ามือขึ้น (Supination) จากนั้นควำฝ่ามือลง(Pronation) 90 องศา
Hip
การดู
ดูการเดินของผู้ป่วยว่ามีการเคลือนไหวอย่างไร อาการบวม แดง ร้อน ของข้อต่อสะโพกบาดแผลหรือการผิดรูป
การคลำ
คลำโดยรอบข้อสะโพก ว่ามีการผิดรูปหรือการกดเจ็บหรือไม่โดยกดบริเวณ anterior iliac
crest ของผู้ป่วยในทิศทาง downward และ upward และกดบริเวณ pubis symphysis ในทิศทาง downward หากมีการกดเจ็บหรือผิดรูป บ่งชี้ถึง pelvis fracture
การขยับ
Flexion ผู้ป่วยนอนหงาย งอข้อสะโพก โดยงอให้หัวเข่าขึ้นมาในทิศทางเข้าหาบริเวณหน้าอก 120 องศา
Internal rotation ผู้ป่วยนอนหงาย งอข้อสะโพก 90 องศา ผู้ตรวจจับบริเวณต้นขาและข้อเท้าผู้ป่วย หมุนขาท่อนล่างเข้าหาแนวกึ งกลางล่าตัว 45 องศา
External rotation ผู้ป่วยนอนหงายงอข้อสะโพก 90 องศา ผู้ตรวจจับบริเวณต้นขาและข้อเท้าผู้ป่วย หมุนขาท่อนล่างออกจากแนวกึ่งกลางลำตัว 40 องศา
Abduction ผู้ป่วยนอนเหยียดขา ผู้ตรวจจับบริเวณ anterior superior iliac spineให้ผู้ป่วยกางขาอีกข้างหนึ งออกทางด้านข้าง จนผู้ตรวจรู้สึกว่ากระดูก iliac spine มีการเคลื่อนไหว 45 องศา
Adduction ผู้ป่วยนอนเหยียดขา ผู้ตรวจจับบริเวณ anterior superior iliac spine ให้ผู้ป่วยหุบขาอีกข้างหนึ่งเข้าด้านในจนผู้ตรวจรู้สึกว่ากระดูก iliac spine มีการเคลื่อนไหว 45 องศา
Ankles & Feet
การดู
ดูอาการบวม แดง ร้อน ของข้อต่อของเท้า บาดแผลหรือการผิดรูป
การคลำ
คลำด้านหน้าของข้อเท้าว่ามีอาการบวม กดเจ็บบริเวณ Achilles tendon หรือไม่
คลำและกด Metatarsophalangeal joint ของนิ้วโป้งและนิ้วชี้ หากมีการกดเจ็บ บวมแดง แสดงถึงภาวะอักเสบของข้อดังกล่าว บ่งชี้ถึงโรค Gout
การขยับ
Dorsiflexion ผู้ป่วยกระดกงอข้อเท้าขึ้น 20 องศา
Plantar flexion ผู้ป่วยกดข้อเท้าลง 45 องศา
Inversion/Eversion ผู้ตรวจจับข้อเท้าของผู้ป่วย มืออีกข้างจับส้นเท้า จากนั้นบิดออกจากแนวกึ่งกลางลำตัว คือ eversion 20 องศา ถ้าบิดเข้าหากึ งกลางล่าตัว คือ inversion 20 องศา
Knee
การดู
ดูอาการบวม แดง ร้อน ของข้อเข่า
บาดแผลหรือการผิดรูป
การคลำ
คลำดูอาการบวม หากบวมควรแยกให้ได้ว่า บวมจากในข้อเข่าหรือเนื้อเยื้อรอบข้อเข่าเช่น การตรวจ Ballottement เพื่อหาภาวะน้ำในเยื้อหุ้มข้อเข่า
คลำดูการกดเจ็บ โดยให้ผู้ป่วยงอเข่า 90 องศา ผู้ตรวจใช้นิ้วโป้งคลำและกดไปในข้อเข่า บริเวณขอบกระดูก tibia ไล่จากด้านข้างของ patellar tendon ตามแนวข้อเข่า
การขยับ
-ดูตรวจประเมิน stability ของ medial และ collateral ligament โดยจับข้อเข่าเคลื่อนจากด้านหนึ่งไปอีกด้านหนึ่ง (เข้าหาหรือออกจากแนวกึ่งกลางลำตัว)
ดูตรวจประเมิน stability ของ Anterior และ Posterior cruciate ligament โดยใช้การตรวจ Drawer test โดยจับข้อเข่าเคลื่อนมาข้างหน้าและหลังในขณะที่งอเข่า 90 องศา
-ประเมิน Rang of motion (ROM) ของ ข้อเข่า
Extension ผู้ป่วยนั่งห้อยขาที่ขอบเตียง เหยียดขาออก 90 องศา
Flexion ผู้ป่วยนั่งห้อยขาที่ขอบเตียง งอขาเข้ามาในทิศทางด้านหลังของผู้ป่วย 135 องศา
Tendon
การตรวจ Deep tendon reflex
Biceps reflex เป็นการตรวจ reflex ของ Cervical spinal nerve 5,6
Triceps reflex เป็นการตรวจ reflex ของ Cervical spinal nerve 7,8
Brachioradialis reflex เป็นการตรวจ reflex ของ Cervical spinal nerve 5,6
Knee reflex เป็นการตรวจ reflex ของ Lumbar spinal nerve 3,4
Ankle reflex เป็นการตรวจ reflex ของ Sacral spinal nerve 1,2
การซักประวัติและการตรวจร่างกายระบบประสาท
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
ระบบประสาทส่วนกลาง (Central nervous system : CNS) ประกอบด้วย สมอง ก้านสมอง และเส้นประสาทไขสันหลัง
ระบบประสาทส่วนปลาย (Peripheral nervous system : PNS) ประกอบด้วย เส้นประสาทสมอง(Cranial nerve) และเส้นประสาทส่วน ปลายที่ต่อจากไขสันหลัง (Peripheral nerve)
การประเมินความรู้สึกตัว
ระดับความรู้สึกตัว (Level of consciousness)
Full consciousness
Confusion
Disorientation
Drowsiness
Stupor
Coma
เชาว์ปัญญา (Content)
การประเมินเชาว์ปัญญา
Orientation หมายถึงการรับรู้ต่อบุคคล เวลา และสถานที่ ประเมิน โดยใช้คำถามสั้นๆ
Language and speech การประเมินในเรื่องของความเข้าใจและการใช้ภาษา
การตรวจการเคลื่อนไหว (Motor system)
การตรวจความตึงตัวของกล้ามเนื้อ (Muscle tone)
การตรวจกําลังของกล้ามเนื้อ (Motor power)
ระดับกำลังของกล้ามเนื้อ(Motor power)
การตรวจการรับรู้ความรู้สึก (Sensory system)
ความรู้สึกเจ็บ, อุณหภูมิ, การสั่นสะเทือน, ความรู้สึกสัมผัสเบา(Light touch) และความรู้สึกตําแหน่งของข้อ(Proprioception)
การนําความรู้สึกแต่ละประเภท ถูกนําโดยเส้นประสาทที่ต่างกัน แต่มีการเรียงตัวของเส้นประสาทตาม Dermatomeเหมือนกัน
การทดสอบจึงควรทําสองข้างเพื่อเปรียบเทียบกัน และตรวจการรับรู้ความรู้สึก ทั้งหมดต้องอาศัยความร่วมมือของผู้ป่วยอย่างมาก
การตรวจประเมินความผิดปกติของก้านสมอง และเส้นประสาทสมอง
Cranial nerve I: Olfactory nerveตรวจโดยให้ผู้ป่วยหลับตาแล้วดมกลิ่นด้วยจมูกทีละข้าง โดยใช้วัตถุที่มี กลิ่นอ่อนๆ เช่น สบู่ กาแฟ ไม่ควรใช้สารระเหย เช่น แอมโมเนีย
Cranial nerve II: Optic nerve
การตรวจ Visual field (Visual field)
การตรวจการตอบสนองของรูม่านตาต่อแสง (Pupillary light reflex)
การตรวจการมองเห็น (Visual acuity)
Cranial nerve III: Oculomotor nerve -> Superior rectus, Inferior rectus, Medial rectus, Inferior oblique
Cranial nerve IV: Troclear nerve -> Superior oblique (มองลงล่างเมื่อตามองเข้าใน)
Cranial nerve VI: Abducens nerve -> Lateral rectus (มองออกด้านข้าง)
Cranial nerve V: Trigeminal nerve แบ่งเป็นการตรวจ Motor, Sensory และ Corneal reflex
Cranial nerve VII: Facial nerve
เริ่มด้วยการสังเกตอาการหน้าเบี้ยว มุมปากตกด้านใดด้านหนึ่ง หรือรอยพับของร่องบ้างมุมปาก (Nasolabial fold) จากนั้นตรวจการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อให้ผู้ป่วยหลับตาทั้งสองข้างแน่นๆ ผู้ตรวจใช้นิ้วพยายามเปิดตาของหายไป ผู้ป่วย ให้ผู้ป่วยยิงฟัน และยักคิ้ว หากปกติผู้ป่วยจะสามารถทําได้เท่าๆกันทั้งสองข้าง
Cranial nerve VIII: Acoustic nerve
ตรวจการได้ยินโดยการให้ผู้ป่วยปิดหูข้างหนึ่ง ผู้ตรวจใช้นิ้วจับและถูเส้นผมให้เกิดเสียงข้างหูผู้ป่วย จากนั้นเปลี่ยนไปทําอีกข้างหนึ่ง
Cranial nerve IX : Glossopharyngeal nerve
Cranial nerve X : Vagus nerve
Cranial nerve XI: Spinal accessory nerve
• ตรวจการกําลังกล้ามเนื้อ Sternocleidomastoid
• ตรวจการกําลังกล้ามเนื้อ Trapezius
Cranial nerve XII: Hypoglossal nerve สังเกตว่ามีกล้ามเนื้อลีบแบน (Atrophy) หรือ กระตุก (Fasciculation) ที่ข้างใดข้างหนึ่งของลิ้นหรือไม่ จากนั้นให้ผู้ป่วยแลบลิ้นออกมา
• หากพบAtrophy และ Fasciculation ร่วมกับลิ้นเฉไปข้างเดียวกัน บ่งบอกถึงรอยโรคแบบ LMN
• หากเป็น UMN จะไม่พบAtrophy และFasciculation
การตรวจ Reflexes
Deep tendon reflexสามารถช่วยในการบอกตำแหน่งของรอยโรคได้ตำแหน่งที่ตรวจ
Biceps tendon เป็นการตรวจReflexvอง Cervical spinal nerve 5,6
Brachioradialis tendon เป็นการตรวจReflexของ Cervical spinal nerve 5,6
Triceps tendon เป็นการตรวจReflexของ Cervical spinal nerve 7,8
Knee jerk เป็นการตรวจReflexvอง Lumbar spinal nerve 3,4
Ankle jerk เป็นการตรวจReflexของ Sacral spinal nerve 1,2
Babinski's sign (Plantar response) KSO Plantar reflex เป็นการตรวจที่บ่งบอกถึงรอยโรคใน UMN ตรวจในท่านั่งหรือนอน
การตรวจหน้าที่ของ Cerebellum
Midline function การควบคุมการทรงตัวในผู้ป่วยที่สามารถยืนได้
Romberg's test ให้ผู้ป่วยยืนเท้าชิด หลับตา ผู้ป่วยจะมีอาการเซไปทางด้านที่มีรอยโรค
Tandem gait ให้ผู้ป่วยเดินต่อส้นเท้าเหมือนเดินบนเชือก
Hemispheric function เป็นการประเมินมิความสัมพันธ์ในการทำ งานของมือและเท้า
Finger to nose test
Heel to knee test
Diadochokinetic movement
การตรวจ Meningeal response
ตรวจเนื่องจาก
ในภาวะที่มีการระคายเคืองของเยื่อหุ้มสมองส่วนกลาง เช่น ติดเชื้อเยื่อหุ้มสมอง หรือเลือดออกในช่อง สมองชั้นกลาง(Subarachnoid hemorrhage) จะเกิดอากาiแข็งเกร็งคอ เรียกว่า Stiffness of neck
ทําการตรวจโดยยกศีรษะของผู้ป่วยในขณะที่ผ่อนคลายขึ้น คางชิดอก หากมีอาการแข็งเกร็ง ไม่สามารถ ยกขึ้นได้ แปลผลว่ามีภาวะ Stiffness of neck positive
Kernig's sign
แสดงออกในภาวะเช่นเดียวกับ Stiffness of neck โดยพบว่ากล้ามเนื้อ Hamstring มีอาการเกร็งมาก จนไม่สามารถ เหยียดตรงได้