Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินและการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
การประเมินและการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ
การประเมินผู้สูงอายุอย่างครอบคลุม (Comprehensive Geriatric Assessment, CGA)
1.การประเมินด้านร่างกาย (Physical assessment)
Medical problem
ประวัติความเจ็บป่วย/โรคประจำตัว
การผ่าตัด
Special problem
พฤติกรรมการใช้ยา (Drug use)
พฤติกรรมการใช้ยา (Drug use)
พฤติกรรมการใช้ยา (Drug use)
พฤติกรรมการใช้ยา (Drug use)
พฤติกรรมการใช้ยา (Drug use)
2.การประเมินด้านจิตใจและสติปัญญา (Mental or cognitive assessment)
การคิด (Thinking)
ความจำ (Remembering)
การรับรู้ (Percieving)
การสื่อสาร (Communicating /orienting)
การคำนวณ (Calculating)
การแก้ปัญหา (Problem – solving)
3.การประเมินด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม (Social and environmental assessment)
เครือข่ายทางสังคม (Social network))
แรงสนับสนุนทางสังคม (Social support)
เศรษฐกิจและสิทธิประโยชน์(Economic and facilities)
บริการทางสุขภาพ (Health service utilization)
4.การประเมินด้านความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวัน (Functional assessment)
ความสามารถของบุคคลในการปฏิบัติกิจกรรมที่จำเป็นต่อการมีชีวิตอยู่ อย่างผาสุก ซึ่งต้องผสมผสานความสามารถทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม
Risks screening of Geriatric syndrome : “
SPICES”
S
= Skin Impairment (ปัญหาสุขภาพผิวหนัง)
P
= Poor Nutrition (ภาวะทุพโภชนาการ)
I
= Incontinence (กลั้นปัสสาวะไม่อยู่)
C
= Cognitive Impairment (ภาวะสับสนเฉียบพลันและภาวะสมองเสื่อม)
E
= Evidence of Falls (พลัดตกหกล้ม)
Functional Decline (ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันลดลง)
S
= Sleep Disturbance (ปัญหาการนอนหลับ)
ผู้สูงอายุที่ควรได้รับการประเมินอย่างครอบคลุม
มีอายุมากกว่า 75 ปี ขึ้นไป และ/หรือ
มีสุขภาพอ่อนแอ โดยมีภาวะต่อไปนี้ ตั้งแต่ 2 ประเภทขึ้นไป
ไม่สามารถประกอบกิจวัตรประจำวันได้
ป่วยเป็นโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke)
มีภาวะต้องนอนพักบนเตียงเป็นระยะเวลานาน (Prolonged bed rest)
มีอาการที่ไม่จ าเพาะที่เกี่ยวเนื่องกับความเสื่อมตามวัย
“Big I”
ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงสูง
เพิ่งจำหน่ายออกจาก รพ.
เพิ่งสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก
อยู่คนเดียวตามลำพัง
ขาดความเกื้อหนุนทางสังคม
เทคนิคการสัมภาษณ์และสื่อสารกับผู้สูงอายุ
เคารพ สุภาพและเข้าใจ ลดอคติ
ฟังในสิ่งที่ผู้สูงอายุพูดและสะท้อนกลับในสิ่งที่ได้ยิน
หลีกเลี่ยงการสรุปเอาเอง
นั่งตรงข้ามกับผู้สูงอายุในระดับสายตา
ประเมินการได้ยินของผู้สูงอายุ
สื่อสารกับผู้สูงอายุ ด้วยถ้อยคำที่ชัดเจน ระดับเสียงดังพอควร
ไม่พูดยืดเยื้อและซับซ้อน
หลีกเลี่ยงการพูดแทรกหรือมีกิจกรรมหลายอย่างในเวลาเดียวกัน
การจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการสัมภาษณ์และสื่อสารกับผู้สูงอายุ
ห้องที่มีแสงสว่างเพียงพอ
หลีกเลี่ยงการมีแสงส่องทางด้านหลังของผู้สัมภาษณ์
หลีกเลี่ยงบริเวณที่มีเสียงดัง
พยายามให้มีการรบกวนหรือขัดจังหวะการสัมภาษณ์ให้น้อยที่สุด
เตรียมอุปกรณ์ส าหรับจดบันทึก
แบบแผนสุขภาพ (Functional Health Pattern: Gordon)
วินิจฉัยสุขภาพผู้สูงอายุตามแนวทางการประเมิน
ของกอร์ดอน แบ่งออกเป็น 11 แบบแผน ประกอบด้วย
การรับรู้ภาวะสุขภาพและการดูแลสุขภาพ
โภชนาการและการเผาผลาญสารอาหาร
การขับถ่าย
กิจกรรมและการออกกำลังกาย
การพักผ่อนนอนหลับ
สติปัญญาและการรับรู้
การรับรู้ตนเองและอัตมโนทัศน์
บทบาทและสัมพันธภาพ
เพศและการเจริญพันธุ์
การปรับตัวและการทนทานต่อความเครียด
คุณค่าและความเชื่อ