Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 ภาพรวมของการออกแบบ - Coggle Diagram
บทที่ 1
ภาพรวมของการออกแบบ
นิยามของการออกแบบ
นิยามอีกประเภทสําหรับคําว่า Design คือ แผน (roadmap) หรือแนวทางเชิงยุทธวิธี
เพื่อให้บุคคลสามารถบรรลุความคาดหวังที่มีลักษณะเฉพาะ ซึ่งมีการระบุข้อกําหนด (specifications), แผน (plans),
ตัวแปรเสริม (parameters), ต้นทุน (costs), กิจกรรม (activities)และกระบวนการ (processes) รวมถึงสิ่งที่ต้องทํา
การออกแบบในฐานะที่เป็นกระบวนการ
มุมมองหลัก: “แบบจําลองเชิงเหตุผล (Rational Model)” ซึ่งรวมถึงการแก้ปัญหาเชิงเทคนิค (Technical
Problem Solving) และมุมมองแบบมีเหตุผลเป็นศูนย์กลาง (Reason-Centric Perspective)
มุมมองทางเลือก: “ปฏิกิริยาตอบสนองต่อการกระทํา (Reflection-in-Action)” ซึ่งรวมถึงการออกแบบเชิงวิวัฒนาการ (Evolutionary Design) การวิวัฒนาการร่วม (co-evolution) และมุมมองที่เน้นการกระทําเป็น
ศูนย์กลาง (The Action-Centric Perspective)
มุมมองที่เน้นการกระทําเปนศ็ นยู ์กลาง
นักออกแบบใช้ความคิดสร้างสรรค์และอารมณ์ในการสร้างงานออกแบบ
กระบวนการออกแบบมีลักษณะด้นสด (Improvise)
ไม่มีขั้นตอนมาตรฐานสําหรับการออกแบบอย่างชัดเจน – การวิเคราะห์ออกแบบ และนําไปใช้จริง มักเกิดขึ้น
ร่วมกันและไม่สามารถแยกออกจากกันได้
แบบจําลองเชงเหตุผล
นักออกแบบพยายามที่จะสร้างตัวเลือกในการออกแบบที่มีความเหมาะสมที่สุด (optimize) ภายใต้ข้อจํากัด
และวัตถุประสงค์ที่ทราบแน่ชัด
กระบวนการออกแบบถูกขับเคลื่อนโดยการวางแผน
กระบวนการออกแบบสามารถอธิบายได้ด้วยขั้นตอนที่แยกออกจากกันได้อย่างชัดเจนตามลําดับ
ตัวอย่างลาดํ ับขั้นตอนของการออกแบบ
การออกแบบในช่วงก่อนการผลิต (Pre-production design)
การออกแบบระหว่างการผลิต
การออกแบบในช่วงหลังการผลิต (Post-production design)
การออกแบบซ้ํา (Redesign) – ทํากระบวนการออกแบบซ้ําทั้งหมดหรือว่าแค่บางส่วน โดยมีการปรับปรุงให้ดี
ขึ้น
คําวิจารณ์ต่อแบบจําลองเชงเหตุผล
ในทางปฏิบัตินักออกแบบไม่ได้ทํางานในลักษณะนี้ – การเก็บข้อมูลเชิงประจักษ์อย่างกว้างขวางแสดงให้เห็น
ว่านักออกแบบไม่ได้ทํางานตามลําดับขั้นตอนของแบบจําลองเชิงเหตุผล
สมมติฐานที่ไม่สมจริง – บ่อยครั้งที่เป้าหมายยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัดในช่วงที่เริ่มการออกแบบ นอกจากนั้น
เงื่อนไขที่จําเป็นและข้อจํากัดมักจะมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
สาขาที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ
ระเบียบวิธีวิจัยการออกแบบเชิงทหาร
(Army design methodology)
ศิลปะประยุกต์ (Applied arts)
สถาปัตยกรรม (Architecture)
การออกแบบยานพาหนะ (Automotive
design)
การออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction
design)
แนวทางในการออกแบบ
การออกแบบเชิงวิพากษ์ (Critical Design) ใช้แนวทางที่อาศัยทฤษฎีวิพากษ์ในการออกแบบ โดยเรื่องแต่ง
เชิงออกแบบ (design fiction) และข้อเสนอในการออกแบบเชิงคาดการณ์
การออกแบบโดยให้ผู้อื่นมีส่วนร่วม (Participatory design) ในช่วงแรกเริ่ม แนวคิดนี้ถูกเรียกว่า การ
ออกแบบร่วม หรือ co-design เป็นแนวทางที่พยายามให้ผู้ที่มีส่วนได้เสีย (stakeholders) ทั้งหมด
การออกแบบเชิงการกําเนิด (Generative design) เป็นกระบวนการค้นหารูปแบบที่เลียนแบบแนวทาง
วิวัฒนาการของธรรมชาติในการออกแบบ
การออกแบบโดยมีมนุษย์เป็นศูนย์กลาง (Human-Centered Designคือกรอบแนวคิดของกระบวนที่ให้ความสําคัญแก่ตัวผู้ใช้สินค้าและบริการในทุกขั้นตอนของการออกแบบ
เพื่อให้เข้าใจบุคลิกภาพและลักษณะของผู้ใช้ปัญหาที่นําไปสู่การใช้สินค้าและบริการ
การศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวกับมนุษย์และการยศาสตร์ (Human factors and ergonomics) เป็นแนวคิดที่
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคน เครื่องจักร สิ่งแวดล้อม และระบบ แล้วทําการออกแบบ
การศึกษาทางชาติพันธุ์วรรณนาประยุกต์ (Applied ethnography) เป็นการประยุกต์การวิจัยชาติพันธุ์
วรรณนา ซึ่งหมายถึง วิธีการศึกษากลุ่มคน (ethnos)
นวัตกรรมโดยผู้ใช้นํา (Lead User Innovation) ผู้ใช้นํา หมายถึง ผู้ที่มีความต้องสินค้าซึ่งเป็นที่ต้องการ
ของตลาดเช่นกัน
การทดสอบการใช้งาน (Usability Testing) คือ การทดสอบโดยการนําผลิตภัณฑ์หรือในที่นี่คือส่วนติดต่อ
ผู้ใช้งานไปให้กลุ่มคนที่คาดว่าจะเป็นกลุ่มเป้าหมายได้ลองใช้งาน
1 more item...