Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาสมุนไพร, สมาชิกกลุ่ม 6, กลุ่มที่ 1 สมุนไพรรักษาอาการป่วยในระบบทางเดินอาห…
ยาสมุนไพร
ยาที่ใช้บ่อยในการรักษาพยาบาลเบื้องต้นแต่ละกลุ่ม
กลุ่มที่ 3 สมุนไพรรักษาอาการเจ็บป่วยอื่นๆ
3.1 อาการเคล็ด ขัด ยอก
ไพล
ขนาดและวิธีใช้
เหง้าไพลแก่จัด 1 เหง้า ตำคั้นนำน้ำมาทาถูเบาๆบริเวณที่มีอาการ วันละ 2-3 ครั้ง
ยาครีม ทาถูบริเวณที่มีอาการ วันละ 2-3 ครั้ง
ข้อห้ามใช้
ห้ามทาบริเวณขอบตาและเนื้อเยื่ออ่อน
ห้ามทาบริเวณผิวหนังที่มีบาดแผลหรือมีแผลเปิด
สรรพคุณ
บรรเทาปวด ฝกช้ำ เคล็ดยอก
ค่าใช้จ่าย
ขึ้นอยู่กับปริมาณและยี่ห้อ
3.2 อาการไข้
ฟ้าทะลายโจร
สรรพคุณ/ ข้อบ่งชี้
บรรเทาอาการของโรคหวัด
ไอ
ไข้
เจ็บคอ
น้ำมูกไหล
ขนาดและวิธีใช้
ฟ้าทะลายโจรสดล้าง ผึ่งลมให้แดง บดเป็นผงละเอียด ปั้นกับน้ำผึ้ง รับประทานครั้งละ 1.5 กรัม วันละ 4 ครั้ง ก่อนอาหารและก่อนนอน
แบบแคปซูล
รับประทานทางปาก ครั้งละ 115 มิลลิกรัม - 3 กรัม วันละ 4 ครั้ง หลังอาหารและก่อนนอน
ความเสี่ยง
ข้อห้ามใช้
หญิงตั้งครรภ์หรือหญิงให้นมบุตร
แก้เจ็บคอ
เจ็บคอจากการติดเชื้อ Streptococcus grop A
มีประวัติเป็นโรคหัวใจรูห์มาติค
การติดเชื้อแบคทีเรีย และอาการรุนแรง
ตุ่มหนองในคอ หนาวสั่น ไข้สูง
ประวัติโรคไตอักเสบจากการติดเชื้อ Streptococcus grop A
ผู้ที่มีอาการแพ้ ได้แก่ ผื่น บวมบริเวณใบหน้า
ประสิทธิผล
ลดน้ำมูก ความรุนแรงและความถี่ในการไอ
ค่าใช้จ่าย
เม็ดละ 2 บาท
ข้อควรระวัง
ควรระวังการใช้ร่วมกับยาลดความดัน เพราะจะเสริมฤทธิ์
ควรระวังการใช้ยาร่วมกับสารกันลิ่มเลือดและยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด
ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยที่ตับผิดปกติ
หากใช้ติดต่อเกิน 3 วัน ไม่ดีขึ้นหรือรุนแรงขึ้น ควรหยุดยาและพบแพทย์
หากใช้ติดต่อเป็นเวลานาน อาจแขนขามีอาการชาหรืออ่อนแรง
บอระเพ็ด
ขนาดและวิธีใช้
ใช้เถา ใบสด ครั้งละ 30-40 กรัม ต้มกับน้ำ ใช้น้ำ 3 ส่วน เคี่ยวให้เหลือ 1 ส่วน ดื่มก่อนอาหาร วันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น หรือเมื่อมีอาการ
ความเสี่ยง
อาการไม่พึงประสงค์
วิงเวียนศีรษะ
ผื่นแดง
ท้องผูก
สรรพคุณ/ข้อบ่งใช้
บรรเทาอาการของโรคหวัด
ไอ
ไข้
น้ำมูก
เจ็บคอ
ประสิทธิผล
เหมาะสำหรับยาแก้ไข้ ลดไข้
ค่าใช้จ่าย
กิโลกรัมละ 50-100 บาท
3.3 อาการนอนไม่หลับ
ขี้เหล็ก
สรรพคุณ
บรรเทาอาการนอนไม่หลับทำให้หลับสบาย
ขนาดและวิธีใช้
ใบขี้เหล็กแห้ง 30 กรัม หรือใบสด 50 กรัม
ต้มน้ำรับประทานก่อนนอน
ค่าใช้จ่าย
ยอดอ่อน ใบอ่อน ดอกขี้เหล็กแห้ง ราคากิโลกรัมละ 50-100 บาท
ความเสี่ยง
อาการไม่พึงประสงค์
ง่วงซึม
ทำลายเซลล์ตับ
กลุ่มที่ 2 รักษาโรคระบบทางเดินหายใจ
มะขามป้อม
ขนาดและวิธีใช้
จิบเมื่อมีอาการไอทุก 4 ชั่วโมง
ข้อควรระวัง
ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยที่ท้องเสียง่าย
เนื่องจามะขามป้อมมีฤทธิ์เป็นยาระบาย
ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่สามารถคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้เนื่องจากสูตรตำรับนี้มีน้ำตาลเป็นสารแต่งรส
สรรพคุณ
บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ ทำให้ชุ่มคอ
มะขาม
ขนาดและวิธีใช้
ใช้เนื้อฝักแก่ของมะขามรสเปรี้ยว
จิ้มเกลือรับประทาน
คั้นเป็นน้ำใช้จิบ
อาการไม่พึงประสงค์
ระคายเคืองกระเพราะอาหาร
สรรพคุณ
บรรเทาอาการไอ ช่วยให้ชุ่มคอ
ยาอมมะแว้ง
ขนาดและวิธีใช้
1.ยาเม็ด มีส่วนประกอบของ ผลมะแว้ง ชะเอมเทศ กานพลู กระวาน ใบสะระแหน่ พิมเสน ผิวส้ม และน้ำผึ้ง ขนาด 20เม็ด/ซอง
2.ยาน้ำ มีส่วนประกอบคือ ผลมะแว้งต้น มะแว้งเครือ รากมะแว้งมะขามป้อม ชะเอมเทศสกัด น้ำผึ้ง ลูกสำรอง ขนาด 60 ml
1.ยาเม็ดอมครั้งละ 3-5เม็ด เมื่อมีอาการไอ
2.ยาน้ำ รับประทาน 1-2 ช้อนชา วันละ 1-2 ครั้ง
ข้อควรระวัง
1.ในการใช้ยาประสะมะแว้งไม่ควรใช้ติดต่อกันนานเกิน 15 วัน หากไม่ดีขึ้นควรรีบปรึกษาแพทย์ อาจส่งผลให้ตับทำงานหนัก และเป็นอันตรายต่อร่างกายได้
สาร Solanine สารดังกล่าวจะพบมากในผลมะแว้งต้น หากนำมาใช้ในปริมาณที่มากเกินไปจะทำให้เกิดอาการเป็นพิษ ทำลายเซลล์ในเม็ดเลือด ทำให้มีอาการปวดศีรษะ ปวดท้อง อาเจียน ตาพร่ามัว ขับถ่ายฉับพลัน หัวใจเต้นถี่ และค่อยๆ ลดลงจนหัวใจหยุดเต้น หรือ ทำให้ควบคุมสติไม่ได้ และสลบไปควรเป็นอาหารควรจำกัดการบริโภคในปริมาณที่พอเหมาะ
สรรพคุณ
ยาแก้ไอ ขับเสมหะ
กลไกลการออกฤทธิ์
เป็นกลุสมุนไพรที่มีวิตามินเอ บี ซี และมีสารสำคัญคือ อัลคาลอย ชนิด solasodine และsolanine เป็นสารออกฤทธิ์ต่อระบบประสาท และระบบหายใจ
ช่วยบรรเทาอาการไอ นอกจากนี้ยังมีสาร lignin และ saponin ออกฤทธิ์เหมือนยาปฏิชีวนะ
ค่าใช้จ่าย
ราคาต่อซอง : 8 บาท/ ซอง/20 เม็ด
ราคายาน้ำ 50 บาท/ขวด/60ml
ขิง
สรรพคุณ
ช่วยให้คอชุ่มชื่น
ขนาดและวิธีใช้
ใช้เหง้าขิงแก่ฝนกับน้ำมะนาว หรือใช้เหง้าขิงสดตำผสมน้ำเล็กน้อยใช้ดื่มหรือจิบบ่อยๆ นอกจากนี้ยังสามารถคั้นเอาเฉพาะน้ำผสมกับเกลือใช้กวาดคอ
ข้อควรระวัง
ควรระวังการใช้กับผู้ป่วยโรคนิ่วในถุงน้ําดียกเว้นภายใต้การดูแลของแพทย์
ควรระวังการใช้กับเด็กเนื่องจากยังไม่มีข้อมูลด้านประสิทธิผลและ ความปลอดภัย
ควรระวังการใช้กับหญิงตั้งครภ์ยกเว้นภายใต้การดูแลของแพทย์
อาการไม่พึงประสงค์
เกิดอาการแพ้
ดีปลี
สรรพคุณ
ช่วยให้ชุ่มคอ และขับเสมหะ
ขนาดและวิธีใช้
ใช้ผลแก่แห้ง 1/2 - 1 ผล ฝนกับน้ำมะนาว ใส่เกลือเล็กน้อย ใช้กวาดคอ หรือผสมน้ำจิบบ่อยๆ
ข้อควรระวัง
ระวังในหญิงตั้งครรภ์ เสี่ยงต่อการแท้งได้
ระวังในผู้ป่วยที่มีอาการไข้ เนื่องจากทำให้ร้อนใน
อาการไม่พึงประสงค์
เป็นแผลในกระเพราะอาหาร
เพกา
สรรพคุณ
แก้ไอ ขับเสมหะ
ขนาดและวิธีใช้
ใช้เมล็ดครั้งละ 1/2 - 1 กำมือ ใส่น้ำประมาณ 300 มิลลิลิตร ต้มไฟอ่อนๆ พอเดือดนานประมาณ 1 ชั่วโมง วันละ 3 ครั้ง
อาการไม่พึงประสงค์
เพกาเป็นสมุนไพรที่มีฤทธิ์ร้อน อาจทำให้เกิดการระคายเคืองกระเพาะอาหารได้
ข้อควรระวัง
ควรระวังในการใช้เพการ่วมกับยากลุ่มต้านการแข็งตัวของเลือด เช่น แอสไพริน
มะนาว
อาการไม่พึงประสงค์
ไม่พบอาการไม่พึงประสงค์
สรรพคุณ
ช่วยขับน้ำลายจึงทำให้ชุ่มคอ บรรเทาอาการเจ็บคอ ช่วยแก้ไอ ขับเสมหะช่วยรักษาโรคเลือดออกตามไรฟัน เพราะมีวิตามินซี
ขนาดและวิธีใช้
ใช้น้ำมะนาว 1ช้อนโต๊ะ ผสมน้ำผึ้ง 4 ช้อนโต๊ะ จิบรักษาอาการไอมีเสมหะ
ใช้น้ำมะนาว 2-3 ช้อนแกงเติมเกลือเล็กน้อย จิบจะช่วยทำให้เสมหะขับออกง่ายขึ้น
ใช้น้ำมะนาว 1 ถ้วยชา ผสมน้ำตาลทราย 1 ช้อนโต๊ะ เติมเกลือเล็กน้อย ชงในน้ำอุ่นๆ และจิบบ่อยๆ จะช่วยแก้ไอ
ค่าใช้จ่าย
ผลมะแว้งเครือสด ราคากิโลกรัมละ 150-200 บาท
ผลมะแว้งเครือแห้ง ราคากิโลกรัมละ 300-400 บาท
การใช้ยาอย่างสมเหตุผล
5 ถูก
ถูกขนาด
ช่วงอายุวัย
ระยะเวลาในการใช้
ขนาด/ปริมาณที่รับประทาน
ถูกส่วน
ส่วนไหนต้องนำมาใช้ : ราก ดอก ใบ เปลือก ผล หรือเมล็ด ฯ
ความสุก แก่ อ่อน ดิบของสมุนไพร
ถูกต้น
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อแตกต่างกันแต่อาจเป็นพืชชนิดเดียวกัน
หรือเหมือนกันแต่เป็นพืชคนละชนิด
ชื่อพ้องหรือซ้ำกัน
ถูกวิธี
วิธีการใช้ยา : กิน/ทา/ฟอก/แช่
วิธีการเตรียมยา : ต้ม/เคี้ยว/ดอง/สกัด
ถูกโรค
สมุนไพรใด รักษาโรค โรคใด
สมุนไพรใด แสลง กับโรคใด
สมาชิกกลุ่ม 6
1.นางสาวธนัชพร ธารทอง เลขที่ 55
2.นางสาวธัญญศิร์ จำปาทอง เลขที่ 56
3.นางสาวธัญสิริ จาบทอง เลขที่ 57
4.นางสาวนิยุตา สิงห์คำ เลขที่ 58
5.นางสาวพิชชาพร สีกา เลขที่ 60
6.นางสาวภัทรลดา กลิ่นฉาย เลขที่ 61
7.นางสาวภัทราภรณ์ อินทร์ใย เลขที่ 62
8.นางสาววรรณยุกต์ ชัยจินดา เลขที่ 63
9.นางสาวกชพร สิทธิศาตร เลขที่ 68
10.นางสาวจิรัชญา วงทิมเสน เลขที่ 69
กลุ่มที่ 1 สมุนไพรรักษาอาการป่วยในระบบทางเดินอาหาร
โรคกระเพาะอาหาร
กล้วยน้ำว้า
สรรพคุณ
รักษาแผลในกระเพาะอาหาร
ขนาดและวิธีใช้
ผงจากผลกล้วยน้ำว้าดิบชนิดแก่จัด
รับประทานครั้งละ 10 กรัม ชงในน้ำร้อน 120 - 200 มิลลิลิตร วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น
อาการไม่พึงประสงค์
ไม่ควรใช้กับผู้ที่ท้องผูก หรือผู้ที่มีภาวะลำไส้อุดตัน
การรับประทานยานี้ติดต่อกันนานๆ อาจทำให้ท้องอืดได้
ขมิ้นชัน
สรรพคุณ
มีฤทธิ์ต้านการเกิดแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้ กระตุ้นการหลั่งสารเมือก มาเคลือบแผล และยับยั้งการหลั่งของน้ำย่อย รวมทั้งมีฤทธิ์ สมานแผล ต้านการอักเสบ ต้านเชื้อแบคทีเรีย
ขนาดและวิธีใช้
นกเหง้าขมิ้นชันแก่สดล้างให้สะอาด หั่นเป็นช้ิน บางๆ ตากแดดจัด 1 - 2 วัน บดให้ละเอียด ผสมน้ำผึ้งปั้นเป็นลูกกลอน หรือบรรจุแคปซูล
รับประทานคร้ังละ 500 มิลลิกรัม วันละ 4 ครั้ง หลังอาหาร เช้า กลางวัน เย็น และก่อนนอน
อาการไม่พึงประสงค์
ผิวหนังอักเสบจากการแพ้
ข้อควรระวัง
ควรระวังการใช้ยานี้ร่วมกับสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulant) และยาต้านการจับตัวของเกร็ดเลือด (antiplatelets)
ควรระวังการใช้กับผู้ป่วยโรคนิวในถุงน้ำดี
ยกเว้นภายใต้การดูแลของแพทย์
อาการท้องผูก
ชุมเห็ดเทศ
สรรพคุณ
รักษาอาการท้องผูก
ขนาดและวิธีใช้
ใช้ดอกชุมเห็ดเทศ 1 ช่อ ต้มรับประทานกับน้ำพริก
ยาลูกกลอน : นำใบชุมเห็ดเทศมาบดเป็นผงแล้วนำผงยามาปั้นกับน้ำผึ้งเป็นลูกลอน ขนาดเท่ากับปลายนิ้วก้อย รับประทานครั้งละ 3 เม็ด ก่อนนอนหรือเมื่อมีอาการท้องผูก
ยาต้ม : นำใบสด 12 ใบ หั่นตากแห้ง ใช้ต้มและเอาน้ำดื่ม
ยาชง : รับประทานครั้งละ 3 – 6 กรัม แช่น้ำร้อนประมาณ 120 - 200 มิลลิลิตร นาน 10 นาที
วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน
อาการไม่พึงประสงค์
อาจทำให้เกิดอาการปวดมวนท้อง เนื่องจากการบีบตัวของลำไส้ใหญ่
ข้อควรระวัง
ควรระวังการใช้ในเด็กอายุต่ำกว่า 12 ปี หรือผู้ป่วย inflammatory bowel disease
การรับประทานยานี้ในขนาดสูงอาจทำให้เกิดไตอักเสบ (nephritis)
ไม่ควรใช้ยานี้ติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน เพราะจะทำให้ท้องเสีย ซึ่งส่งผลให้มีการสูญเสียน้ำและเกลือแร่มากเกินไปโดยเฉพาะโพแทสเซียมและทำให้ ลำไส้ใหญ่ซินต่อยา ถ้าไม่ใช้ยาจะไม่ถ่าย
ควรระวังการใช้ในหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร
ค่าใช้จ่าย
ยาชง 1.5 กรัม/ซอง ราคา 2.46 บาท
ยาชง 3 กรัม/ซอง ราคา 3.5 บาท
ดีเกลือฝรั่ง หรือเกลือแมกนีเซียม ซัลเฟต
สรรพคุณ
ใช้บรรเทาอาการท้องผูกเฉพาะในรายที่ท้องผูกมากหรือในรายที่มีอาการ ท้องผูกเรื้อรังและใช้ยาอื่นแล้วไม่ได้ผล
ขนาดและวิธีใช้
ครั้งแรก รับประทาน 1 กรัม วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน ถ้าไม่ถ่าย วันต่อไป รับประทานเพิ่มเป็น 1.5 กรัม แต่ไม่เกิน 2.5 กรัม ต่อวัน (ตามธาตุหนักธาตุเบา)
อาการไม่พึงประสงค์
ปวดเสียดท้อง
ข้อควรระวัง
เนื่องจากเป็นยาถ่ายอย่างแรง ไม่ควรใช้ยานี้ในผู้ป่วยอ่อนเพลียมากหรือมีภาวะขาดน้ำ
เมื่อถ่ายแล้ว ให้เว้นอย่างน้อย 2 วัน แล้วจึงใช้ยานี้อีกครั้ง
ควรระวังการใช้ยาในผู้สูงอายุ และผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของไตหรือตับ (renal/ hepatic impairment) เนื่องจากยามีส่วนประกอบของแมกนีเซียม
ค่าใช้จ่าย
แคปซูล 500 มิลลิกรัม/แคปซูล 4.68 บาท
ธรณีสันฑะฆาต
สรรพคุณ
แก้อาการอุจจาระแข็งเป็นลำในท้อง ที่ทำให้ท้องผูก
ขนาดและวิธีใช้
ชนิดผง
รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม - 1 กรัม
ละลายน้ำต้มสุกที่ยังอุ่นอยู่ หรือผสม น้ำผึ้งปั้นเป็นลูกกลอน วันละ 1 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าหรือก่อนนอน
ชนิดแคปซูล ชนิดเม็ด และชนิดลูกกลอน รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม - 1 กรัม วันละ 1 ครั้ง
ก่อนอาหารเช้าหรือก่อนนอน
อาการไม่พึงประสงค์
ใช้ยาอย่างต่อเนื่องอาจเกิดการสะสมของและเกิดพิษต่อตับและไต
ข้อควรระวัง
ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulants) และยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets)
ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติ ของตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้
ควรระวังการใช้ยานี้ร่วมกับยา phenytoin, propranolol, theophylline และ rifampicin เนื่องจากตำรับนี้มีพริกไทยในปริมาณสูง
ควรระวังการใช้ในผู้สูงอายุ
ค่าใช้จ่าย
แคปซูล 500 มิลลิกรัม/แคปซูล ราคา 1.71 บาท
มะขามแขก
สรรพคุณ
บรรเทาอาการท้องผูก
ขนาดและวิธีใช้
ชนิดชง : รับประทานครั้งละ 2 กรัม แช่น้ำร้อนประมาณ 120 - 200 มิลลิลิตร นาน 10 นาที ก่อนนอน
ชนิดแคปซูลและชนิดเม็ด : รับประทานครั้งละ 800 มิลลิกรัม – 1.2 กรัม ก่อนนอน
อาการไม่พึงประสงค์
ปวดมวนท้อง ผื่นคัน
ข้อควรระวัง
ควรระวังการใช้ยานี้ในเด็กอายุต่ำกว่า 12 ปี หรือในผู้ป่วย inflammatory bowel disease
การรับประทานยาในขนาดสูง อาจทำให้เกิดไตอักเสบ (nephrtis)
ไม่ควรใช้ยานี้ติดต่อกันเป็นเวลานาน เพราะจะทำให้ท้องเสีย ซึ่งส่งผลให้ มีการสูญเสียน้ำและเกลือแร่มากเกินไปโดยเฉพาะโพแทสเซียม และการใช้ ติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน จะทำให้ลำไส้ใหญ่ซินต่อยา ถ้าไม่ใช้ยาจะไม่ถ่าย
ควรระวังการใช้ยานี้กับหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร
ค่าใช้จ่าย
แคปซูล 400-500 มิลลิกรัม/แคปซูล ราคา 1.2 บาท
อาการท้องอืด ท้องเฟ้อ แน่นจุกเสียด
ขิง
สรรพคุณ
บรรเทาอาการท้องอืด ขับลม แน่นจุกเสียด
ขนาดและวิธีใช้
ผงเหง้าขิงแก่ รับประทานวันละ 2 - 4 กรัม
อาการไม่พึงประสงค์
อาการแสบร้อนบริเวณทางเดินอาหารอาการระคายเคืองบริเวณปากและคอ
ค่าใช้จ่าย
ยาชง 2 กรัม/ซอง 3 บาท
ยาชง 3 กรัม/ซอง 3.35 บาท
แคปซูล 500 มิลลิกรัม/แคปซูล 1.01 บาท
เบญจกูล
สรรพคุณ
บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ
ขนาดและวิธีใช้
เบญจกูล ในผงยา 100 กรัม ประกอบด้วย ดอกดีปลี รากช้าพลู เถาสะค้าน รากเจตมผุลเพลิงแดง เหง้าขิงแห้ง อย่างละ 20 กรัม
ชนิดชง
รับประทานครั้งละ 1.5 - 2 กรัม วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร เช้า กลางวัน เย็น
ชนิดผง
รับประทานครั้งละ 800 มิลลิกรัม - 1 กรัม วันละ 3 เวลา หลังอาหาร เช้า
กลางวัน เย็น
ชนิดแคปซูล ชนิดเม็ด และชนิดลูกกลอน
รับประทานครั้งละ 800 มิลลิกรัม - 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร เช้า
กลางวัน เย็น
อาการไม่พึงประสงค์
ควรระมัดระวังการใช้ในผู้ที่ร้อนในง่ายและการใช้ในฤดูร้อน เนื่องจากอาจทำให้ธาตุไฟกำเริบ
ไม่ควรรับประทานติดต่อกันนานเกิน 7 วัน
ขมิ้นชัน
สรรพคุณ
บรรเทาอาการแน่นจุกเสียด ท้องอืด ท้องเฟ้อ
ขนาดและวิธีใช้
ผงเหง้าขมิ้นชัน รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม - 1 กรัม วันละ 4 ครั้ง หลังอาหาร เช้า กลางวัน เย็น และก่อนนอน
อาการไม่พึงประสงค์
ผิวหนังอักเสบจากการแพ้
ห้ามใช้กับผู้ที่ท่อน้ำดีอุดตัน หรือผู้ที่ไวต่อยานี้
อบเชย
สรรพคุณ
ขับลม บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ
ขนาดและวิธีใช้
ยาน้ำ : เปลือกอบเชย รับประทานครั้งละ 15 - 30 มิลลิลิตร วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร เช้า กลางวัน เย็น
อาการไม่พึงประสงค์
ท้องเสีย อาเจียน วิงเวียนศีรษะ ง่วงซึม
ข้อควรระวัง
ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติ ของตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้
มหาจักรใหญ่
สรรพคุณ
บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ
ขนาดและวิธีใช้
ชนิดผงและชนิดเม็ด (แบบอัดเปียก)
เด็ก อายุ 1 – 5 ขวบ รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม – 1.5 กรัม ละลายน้ำต้มสุกที่ยังอุ่นอยู่ เพิ่มและลดได้ตามส่วน วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น
ชนิดเม็ดและชนิดแคปซูล เด็ก อายุ 6 – 12 ปี
รับประทานครั้งละ 1.5 กรัม วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น
อาการไม่พึงประสงค์ -
ข้อควรระวัง
ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulants) และ ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets)
ยาจะมีฤทธิ์ระบาย หากรับประทานแล้วมีอาการท้องเสีย ควรหยุดรับประทานยา
อาการเบื่ออาหาร
บอระเพ็ด
สรรพคุณ
ช่วยให้เจริญอาหาร
ขนาดและะวิธีใช้
ใช้เถาหรือต้นสด ครั้งละ 2 คืบครึ่ง (30-40กรัม) ตำคั้นเอาน้ำดื่ม หรือต้มกับน้ำ โดยใช้น้ำ 3 ส่วน ต้มเคี่ยวให้เหลือ 1 ส่วน ดื่มก่อนอาหารวันละ 2 ครั้ง เช้าและะเย็นหรือเวลามีอาการ หรืออาจใช้วิธีดองน้ำผึ้ง หรือปั้นลูกกลอน จะทำให้รับประทานสะดวกขึ้น
อาการไม่พึงประสงค์
อาการมือเท้าเย็น อ่อนเพลีย ตาเหลือง หรือ
แขนขาอ่อนแรงควรหยุดรับประทานและ
ไปพบแพทย์ทันที
ขี้เหล็ก
สรรพคุณ
ช่วยทำให้เจริญอาหารมากขึ้น
ขนาดและวิธีใช้
ใช้ดอกตูมและใบอ่อนปรุงเป็นอาหาร
แต่ไม่ควรคั้นน้ำหลายครั้ง จะทำให้รสขม
หมดไป
อาการไม่พึงประสงค์
ง่วงซึม ทำลายตับ
สะเดา
สรรพคุณ
รักษาอาการเบื่ออาหาร เเละช่วยให้
เจริญอาหารมากขึ้น
ขนาดและะวิธีใช้
ใช้ยอดสะเดาและดอกสะเดาลวกหรือ
ต้มรับประทานกับน้ำปลาหวาน
อาการไม่พึงประสงค์
อาจเกิดท้องเสียได้ เมื่อรับประทานต่อเนื่องเป็น
เวลานานอาจส่งผลต่อตับเเละไต
ข้อควรระวัง
ผู้ป่วยโรคไตไม่ควรทานสะเดา เพราะสะเดาเป็นพืชที่มีโพรแทสเซียมสูง
ผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับโรคกรดไหลย้อน ควรหลีกเลี่ยงการทานสะเดา เพราะรสขมของสะเดาจะไปกระตุ้นการสร้างน้ำย่อยในกระเพาะอาหาร
หญิงมีครรภ์หรือให้นมบุตรควรหลีกเลี่ยงการทานสะเดา เพราะจะทำให้ไม่มีน้ำนม
ผู้ที่มีปัญหาโรคความดันโลหิตต่ำ ควรหลีกเลี่ยงการทานสะเดาในปริมาณมาก เพราะอาจะทำให้เกิดอาหารหน้ามืด เป็นลมได้
มะระขี้นก
ขนาดและวิธีใช้
ใช้ผลมะระอ่อนต้มให้สุกรับประทานร่วมกับน้ำพริก
ผลมะระสุกห้ามรับประทานเพราะจะทำให้มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน
อาการไม่พึงประสงค์
ท้องเสีย อาเจียน มีเลือดออกทางช่องคลอด
และส่งผลต่อตับ
สรรพคุณ
ช่วยให้เจริญอาหารมากขึ้น
ค่าใช้จ่าย
500 มิลลิกรัม/แคปซูล ราคา 1.80 บาท
400 มิลลิกรัม/แคปซูล ราคา 1.18 บาท
อาการไม่พึงประสงค์
เกิดอาการผิดปกติระบบทางเดินอาหาร
ปวดท้อง
ท้องเสีย
คลื่นไส้
ใจสั่น
วิงเวียนศีรษะ
อ้างอิง
กลุ่มงานส่งเสริมบริการแพทย์แผนไทย สถาบันการแพทย์แผนไทย. (ม.ป.ป.). การดูแลรักษาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้นด้วยสมุนไพร. (ออนไลน์). แหล่งที่มา :
https://ittm.dtam.moph.go.th/images/knowleaga/2
. สืบค้นวันที่ 23 พฤษภาคม 2567
กองผลิตภัณฑ์สมุนไพร สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. (2566). บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ.2566. (ออนไลน์). แหล่งที่มา :
https://herbal.fda.moph.go.th/media.php?id=553111484570411008&name=nloehd3-03.pdf
, สืบค้นวันที่ 23 พฤษภาคม 2567
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล. (2563). ยาสมนุนไพร ปลอดภัย เมื่อใช้ถูกหลัก. แหล่งที่มา :
https://www.gj.mahidol.ac.th/main/ttm/herb-right/
, สืบค้นวันที่ 23 พฤษภาคม 2567