Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน - Coggle Diagram
เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
1 นวัตกรรม
1.1 ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีและนวัตกรรม
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ 2554 ให้ความหมายว่า เทคโนโลยีคือ วิทยาการที่นำเอาความรู้ทางวิทยาสศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในทางปฎิบัติอุสา่หกรรม เทคโนโลยีอาจมีวิฒนาการนำเอาความรู้มาใช้เพื่อฑัฒนากระบวนการทำงานจากสิ่งปฎิบัติเป็นกิจวัตรประจำวัน เช่น การจัดเก็บข้อมูล เริ่มจากการใช้ดินสอ ปากกาลูกลื่น เครื่องพิมพ์ดีดไฟฟ้า และการใช้ คอมพิวเตอร์
1.2 รูปแบบของเทคโนโลยีและนวัตกรรม
เทคโนโลยี คือ หลักการพัฒนาจากความรู้พื้นฐาน เช่น เทคโนโลยีปรับอากาศ ที่เกิดจากหลักกสรสร้างเครื่องปรับอากาศ ที่เกิดจากหลักสร้างเครื่องวปรับอากาศจากวิทยาการเทอร์โมไดนามิกส์ รวมไปถึงเทคโนโลยีการแพทยื เทคโนโลยีดิจิทัล เทคโนโ,ยี ยานยนต์ เทคโนโลยีการบินและอวกาศ
ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่สร้างจากความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เช่น ดินสอ คอมพิวเตอร์ ีถยนต์ โทรศัพท์ ดาวเทียม
2 การพัฒนาอย่างยั่งยืน
2.1 หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชฐญาที่ชี้ถึงแนวการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ในการพัฒนา และบริหารประเทศในการดำงานไปทางสายกลาง
1 ความพอแระมาณ หม่ยถึง ความพอดีไม่น้อยจนเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคอยู่ในระดับพอประมาณ
2 ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความพอเพียงนั้น จะต้องเป้นอย่างมีเหตุผล โโยพิจรณาจากเหตุปัจจัยเกี่ยวข้อง ตลอดจนคำนึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากกระทำนั้นๆ
3 มีภูมิคุ้มกะัน หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆที่เกิดขึ้น โดยคำนึงความเป็นไปได้ของสถานการร์
1เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วยการฝึกตนให้มีความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน มีความรอบคอบ และความระมัดระวังที่จะนำความรู้ต่าง ๆ เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และในขั้นปฏิบัติ
2 เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องสร้างเสริมให้เป็นพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ ประกอบด้วย ด้านจิตใจ คือการตระหนักในคุณธรรม รู้ผิดชอบชั่วดี ซื่อสัตย์สุจริต ใช้สติปัญญาอย่างถูกต้องและเหมาะสมในการดำเนินชีวิต และด้านการกระทำ คือมีความขยันหมั่นเพียร อดทน ไม่โลภ ไม่ตระหนี้ รู้จักแบ่งปัน และรับผิดชอบในการอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคม
2.2 หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
1.ขจัดความยากจน ขจัดความยากจนทุกรรรรูปแบบ ความยากจนเป็นเหตุของความไม่ยั่งยืนในชีวิต เพราะไม่สามารถมีปัจจัยสนับสนุนการดำรงชีวิตได้
2.ขจัดความหิวโหย ความหิวโหยเกิดเพราะร่างกายต้องการพลังงานจากอาหาร การขจัดความหิวโหยส่วนหนึ่งมาจากการขจัดความยากจนให้สามารถพึ่งตนเองได้
มีสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี สุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดีเป็นความเป็นอยู่ที่ดี หมายถึง ชีวิต สัะงคม และสังคทสิ่งแวดล้อม ที่ไม่เป็นภัย
2.3 หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การใช้หลักปรัชญชาของเศรษฐกิจพอเพียงกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เช่น การใช้ความรู้หรือการสร้างเครื่องมือบางชนิดที่ง่ายและลงทุนไม่เกินตัวเข้ามาทำให้มีประสิทธิภาพในการผลิตเศรษฐกิจครัวเรือนและชุมชนทำให้มีข้อเสียของการผลิตลดลง