Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เตียง 25 Dx.Acute Kidney Injury with Hyperkalemia - Coggle Diagram
เตียง 25 Dx.Acute Kidney Injury with Hyperkalemia
Acute Kidney Injury
ความหมาย
ภาวะที่มีการสญูเสียการทํางานของไตอย่างรวดเร็วภายใน 2-3 ชั่วโมง โดยมีเกณฑ์วินิจฉัยคือ มีระดับ Creatinine ขึ้นมากกว่า 0.3 ml/dl ขึ้นไปจากระดับปกติของผู้ป่วยภายใน 48 ชั่วโมง
สาเหตุ
Prerenal AKI สาเหตุก่อนไต เกิดจากเลือดมาเลี้ยงไตไม่เพียงพอ อาจเกิดจากภาวะช็อค ขาดน้ำ การเสียเลือดปริมาณมาก ท้องร่วง อาเจียน ได้รับบาดเจ็บที่หลอดเลือดหรือการอุดตันตีบแคบของหลอดเลือดแดงที่มาเลี้ยงไต
Intrarenal AKI สาเหตุที่ไต เกิดจากการที่มีพยาธิสภาพที่เนื้อไต หลอดไตหรือหลอดเลือดที่ไตทำให้เนื้อไตเสื่อม พบบ่อยคือ การตายของหลอดไตเฉียบพลันจากการขาดเลือดจากการอักเสบของไต นิ่วกดเบียดเนื้อไต
Post - renal AKI สาเหตุหลังไต เกิดจากการอุดตันของทางเดินปัสสาวะตั้งแต่กรวยไตถึงท่อปัสสาวะเกิดจากต่อมลูกหมากโต นิ่วในไต นิ่วกระเพาะปัสสาวะ
พยาธิสภาพ
ไตขาดเลือดไปเลี้ยง ทำให้อัตราการกรองของไตลดลงอย่างมาก ทำให้ไตสร้าง nitric oxide ซึ่งทำหน้าที่ขยายหลอดเลือดลดลง ร่วมกับการสร้าง endothelin ซึ่งมีฤทธิ์ทำให้หลอดเลือดหดตัว และทำให้เซลล์ทิวบูลถูกทำลายและตายไวเพิ่มขึ้น
อาการและอาการแสดง
กระหายน้ำ ปัสสาวะออกน้อยกว่า 0.5 cc/kg/h
อ่อนเพลีย ปวดศรีษะ เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
แขนขาบวม หายใจเหนื่อยหอบ
กรณีศึกษา
ผู้ป่วยมีอาหารคลื่นไส้ อาเจียน กระหายน้ำ
วินิจฉัยโรค
การซักประวัติ
การสูญเสียน้ำ เลือดออกตามร่างกาย การติดเชื้อในร่างกาย การอุดกั้นทางเดินปัสสาวะ ประวัติการใช้ยา
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ระดับ Creatinine เพิ่มขึ้นมากกว่าค่าปกติ ค่าปกติ คือ 0.5-1.1 mg/dl
ระดับ BUN เพิ่มขึ้นมากกว่าค่าปกติ ค่าปกติ คือ 5-20 mg/dl
ระยะความรุนแรง มี 3 ระยะ
ระยะที่ 1
ค่า Creatinine เพิ่มขึ้น 1.5 - 1.9 mg/dl เท่าจากค่าปกติหรือ เพิ่มขึ้น ≥ 0.3 mg/dl
ปริมาณปัสสาวะ < 0.5 มล./กก./ซม. ภายใน 6-12 ชั่วโมง
ระยะที่ 2
ระยะที่ 3
1 more item...
ค่า Creatinine เพิ่มขึ้น 2.0 - 2.9 mg/dl เท่าจากค่าปกติ
1 more item...
กรณีศึกษา
การซักประวัติ
มีอาเจียนและถ่ายเหลวเป็นมูก
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
วันที่ 29 เมษายน 2567
Creatinine 3.25 mg/dl H
BUN 47 mg/dl H
วันที่ 1 พฤษภาคม 2567
Creatinine 2.12 mg/dl H
BUN 33 mg/dl
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะเลือดเป็นกรด
ไม่สมดุลน้ำและอิเล็กโตรไลย์
Hyperkalemia
ความหมาย
ภาวะที่มีปริมาณโพแทสเซียมในเลือดสูงเกินเกณฑ์มาตรฐาน
สาเหตุ
การกำจัดโพแทสเซียมออกจากร่างกายได้น้อยลง ภาวะนี้สามารถเกิดร่วมกับภาวะน้ำตาลในเลือดสูง โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคไต หรือไตทำงานบกพร่อง
การเคลื่อนย้ายของโพแทสเซียมออกจากเซลล์ที่มากผิดปกติ
พยาธิสภาพ
ปริมาณของเกลือโซเดียม และน้ำมาท่อไตส่วนปลายลดลง มีผลทำให้การแลกเปลี่ยนโซเดียมกับโพแทสเซียมที่เกิดขึ้นบริเวณ principle cell ของ collecting tubule ลดลงมีผลทำให้ไตขับโพแทสเซียมออกมาในปัสสาวะได้น้อยลง
วินิจฉัยโรค
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ค่า K ในเลือด
ผลตรวจ EKG
กรณีศึกษา
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติ
วันที่ 29 เมษายน 2567
K 5.25 mmol/L H
วันที่ 30 เมษายน 2567
K 4.70 mmol/L H
ผลตรวจ EKG
วันที่ 29 เมษายน 2567
Sinus tachycardia (หัวใจเต้นเร็วกว่าปกติ)
อาการและอาการแสดง
คลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก
ตะคริว กล้ามเนื้ออ่อนแรง
หัวใจเต้นผิดจังหวะ
กรณีศึกษา
ผู้ป่วยมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน หัวใจเต้นเร็วกว่าปกติ
ภาวะแทรกซ้อน
หัวใจเต้นผิดจังหวะ
การรักษา
-หยุดการได้รับโพแทสเซียมเพิ่มจากภายนอกร่างกาย ทั้งจากการรับประทานอาหารหรือเครื่องดื่มต่างๆ
-การลดระดับโพแทสเซียมในเลือดให้กลับสู่ค่าปกติ
วิธีการรักษาตามระดับความรุนแรง
Mild hyperkalemia ค่า K 5-6 mmol/L
รักษาโดยเน้นไปที่การขับโพแทสเซียมออกจากร่างกายโดยการใช้ยา Furosemide และ Resin
Moderate hyperkalemia ค่า K 6-7 mmol/L
รักษาโดยเน้นการเก็บโพแทสเซียมเข้าสู่เซลล์ด้วยการใช้กลูโคส ร่วมกับอินซูลิน โซเดียมไบคาร์บอเนต
1 more item...
กรณีศึกษา
แผนการรักษา
-ได้รับยา Resincalcio ขนาด 15 mg ต่อซอง รับประทานครั้งละ 2 ซอง ละลายน้ำ 50 ml
เลือดจาง
กระดูกบาง
ระบบหัวใจ
ความดันโลหิตสูง หัวใจวาย
กรณีศึกษา
ผู้ป่วยมีภาวะ Hyperkalemia
การรักษา
-รักษาโดยการหาสาเหตุและรีบทำการรักษาที่ต้นเหตุ เพื่อให้ไตสามารถกลับมาทำงานได้เป็นปกติ
-การรักษาแบบประคับประคอง ได้แก่ การควบปริมาณน้ำเข้า-ออกร่างกาย หลีกเลี่ยงยาที่มีพิษต่อไต
-การให้สารอาหาร พลังงานและปริมาณโปรตีนที่เหมาะสม
-การบำบัดทดแทนไต
กรณีศึกษา
-จำกัดน้ำดื่ม 1000 ml ต่อวัน
-ได้รับสารอาหาร พลังงานและโปรตีนที่เหมาะสม
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลข้อที่ 2 มีภาวะไม่สมดุลของอิเล็กโทรไลต์ในร่างกายเนื่องจากไตเสียหน้าที่
ข้อมูลสนับสนุน
S : ผู้ป่วยบอกว่า "อาเจียนเป็นน้ำและถ่ายเหลว"
O : ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
วันที่ 30 เมษายน 2567
K 4.70 mmol/L H
จุดมุ่งหมาย : เพื่อรักษาสมดุลของน้ำและอิเล็กโทรไลต์ในร่างกาย
เกณฑ์การประเมิน
1.ไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะโพแทสเซียมในร่างกายสูง ได้แก่ อ่อนเพลีย คลื่นไส้ กล้ามเนื้ออ่อนแรง หัวใจเต้นผิดจังหวะ
2.ผลตรวจทางห้องปฎิบัติการ ค่า K อยู่เกณฑ์ปกติอยู่ในช่วง 3.4 - 4.5 mmol/L
กิจกรรมการพยาบาล
1.ดูแลให้ได้รับยา Resincalcio 15 mg ต่อ 1 ซอง รับประทาน 2 ซอง ละลายน้ำ 50 ml และสังเกตผลข้างเคียงจากการใช้ยา ได้แก่ คลื่นไส้ ท้องผูก
2.สังเกตอาการและอาการแสดงของภาวะโพแทสเซียมในเลือดสูง ได้แก่ อ่อนเพลีย คลื่นไส้ กล้ามเนื้ออ่อนแรง หัวใจเต้นผิดจังหวะ เพื่อประเมินความรุนแรงของภาวะโพแทสเซียมในเลือดสูง
3.ติดตามและประเมินการเต้นของหัวใจ เพื่อประเมินความผิดปกติ
4.แนะนำผู้ป่วยให้งดรับประทานอาหารที่มีโพแทสเซียมสูง ได้แก่ ทุเรียน กล้วย หน่อไม้ฝรั่ง คะน้า ผักชี มันฝรั่ง มะเขือเทศ เพื่อป้องกันภาวะการมีโพแทสเซียมมากเกินไป
5.บันทึกสารน้ำเข้า - ออก เพื่อประเมินความสมดุลของน้ำเข้าและออก
6.ติดตามผลตรวจทางปฏิบัติการ ค่า K เพื่อติดตามระดับค่าโพแทสเซียมในเลือด
ประเมินผล ผู้ป่วยไม่มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน กล้ามเนื้ออ่อนแรง ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ ค่า K 4.13 mmol/L
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลข้อที่ 1
เสี่ยงต่อภาวะน้ำเกินเนื่องจากไตสูญเสียหน้าที่
ข้อมูลสนับสนุน S : ผู้ป่วยบอกว่า "จิบน้ำบ่อย"
O : ผลตรวจทางห้องปฎิบัติการ วันที่ 1 พ.ค. 2567
Creatinine 2.12 mg/dl สูง
BUN 33 mg/dl สูง
จุดมุ่งหมาย : เพื่อป้องกันภาวะน้ำเกิน
เกณฑ์การประเมิน : 1.ผู้ป่วยไม่มีอาการหายใจเหนื่อยหอบ
2.จำกัดการดื่มน้ำของผู้ป่วยปริมาณ 1000 ml ต่อวัน
3.ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ ค่า Creatinine อยู่ในเกณฑ์ปกติ อยู่ในช่วง 0.51 - 1.117 mg/dl
ค่า BUN อยู่ในเกณฑ์ปกติ อยู่ในช่วง 6.0 - 20.0 mg/dl
กิจกรรมการพยาบาล
1.ดูแลจำกัดน้ำปริมาณ 1000 ml ต่อวัน โดยแบ่งเวรเช้าดื่มน้ำปริมาณ 300 ml เวรบ่ายดื่มน้ำปริมาณ 500 ml เวรดึกดื่มน้ำปริมาณ 200 ml เพื่อป้องกันภาวะน้ำเกิน
2.ดูแลให้ได้รับอาหารอ่อนรสจืด จำกัดอาหารเค็ม อาหารหมักดอง อาหารแปรรูป เพื่อป้องกันการคั่งของเกลือและน้ำในอวัยวะต่างๆ
3.บันทึกสารน้ำเข้า - ออก เพื่อประเมินความสมดุลของสารน้ำในร่างกาย
4.ติดตามผลตรวจทางห้องปฎิบัติการ ค่า Creatinine, BUN เพื่อประเมินการทำงานของไตในการกรองของเสีย
ประเมินผล ผู้ป่วยไม่มีหายใจเหนื่อยหอบ บันทึกสารน้ำเข้าออก Intake 900 ml Output 400 ml ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ ค่า Creatinine 1.19 mg/dl BUN 17 mg/dl
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่ 3
มีภาวะ hyperglycemai เนื่องจากไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้จากพฤติกรรมของผู้ป่วย
ข้อมูลสนับสนุน
S : ผู้ป่วยบอกว่า "ดื่มน้ำหวานเป็นประจำ วันละ 3-4 แก้ว"
O : ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
วันที่ 29 เมษายน 2567
HbA1C 8.5%
แรกรับ DTX 273 mg/dl
O : DTX อยู่ในช่วง 144-165 mg/dl
จุดมุ่งหมาย : เพื่อลดระดับน้ำตาลในเลือด
เกณฑ์การประเมิน
1.ระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ อยู่ในช่วง 70 - 110 mg/dl
2.ไม่มีอาการของน้ำตาลในเลือดสูง ได้แก่ ปัสสาวะบ่อย กระหายน้ำ น้ำหนักลด อ่อนเพลีย คลื่นไส้อาเจียน ระดับความรู้สึกตัวลดลง
3.สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ คือ ชีพจร อยู่ในช่วง 60-100 ครั้ง/นาที
อัตราการหายใจ อยู่ในช่วง 16-20 ครั้ง/นาที
ความดันโลหิต อยู่ในช่วง 90/60 - 140/90 mmHg
กิจกรรมการพยาบาล
1.สังเกตอาการและอาการแสดงของภาวะน้ำตาลในเลือดสูง ได้แก่ ปัสสาวะบ่อย กระหายน้ำ น้ำหนักลด อ่อนเพลีย คลื่นไส้อาเจียน ระดับความรู้สึกตัวลดลง เพื่อประเมินอาการภาวะน้ำตาลในเลือดสูง
2.ติดตามค่าระดับน้ำตาลในเลือด เวลา 11.00 น. และ 15.00 น. เพื่อประเมินระดับน้ำตาลในเลือดและให้การพยาบาลอย่างถูกต้อง
3.ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการรับประทานอาหาร งดอาหารหวาน ของทอด น้ำหวาน ผลไม้ที่มีรสหวาน จำกัดการรับประทานจำพวกแป้ง แนะนำให้รับประทานผักใบเขียว เพื่อช่วยควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด
4..บันทึกสัญญาณชีพ เพื่อติดตามความผิดปกติของสัญญาณชีพ
ประเมินผล มีอาการกระหายเล็กน้อย ปัสสาวะบ่อย DTX 154 mg/dl สัญญาณชีพ ชีพจร 96 ครั้ง/นาที อัตราการหายใจ 20 ครั้ง/นาที ความดันโลหิต 115/78 mmHg
ข้อมูลผู้ป่วย
อาการสำคัญ -
อาเจียน เวียนศรีษะ 1 วันก่อนมาโรงพยาบาล
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน
6 เดือนก่อนมีไข้ เจ็บคอ จึงเข้ารับการรักษาตัวที่โรงพยาบาล แพทย์วินิจฉัยเป็นไข้หวัดใหญ่
3 วันก่อนมา อาเจียนเป็นน้ำ 3 ครั้ง ถ่ายเหลวเป็นมูก 2 ครั้ง และมีอาการไข้ร่วมด้วย
1 วันก่อนมา อาเจียน เวียนศรีษะ เหนื่อยหอบ จึงเข้ารับการรักษาตัวที่โรงพยาบาล
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง
Vital sign แรกรับ
อุณหภูมิร่างกาย 36.8 องศาเซียส อัตราการเต้นของหัวใจ 84 ครั้ง/นาที อัตราการหายใจ 22 ครั้ง/นาที ความดันโลหิต 110/68 mmHg
อาการปัจจุบัน
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 43 ปี พูดคุยรู้เรื่อง สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้เอง ผิวแห้ง มีผื่นคัน บริเวณข้อพับที่แขนและขาทั้ง 2 ข้าง ไม่มีอาการบวมและไม่มีกดบุ๋ม มีอาการคลื่นไส้อาเจียนเป็นน้ำ ถ่ายเหลว 2 ครั้ง สัญญาณชีพ อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส ชีพจร 96 ครั้ง/นาที อัตราการหายใจ 20 ครั้ง/นาที ความดันโลหิต 114/72 mmHg ปัสสาวะออก 400 ml
ผลตรวจทางห้องปฎิบัติการ
วันที่ 29 เมษายน 2567
WBC Count 15960 cell/ul H
Hb 15.2 g/dl H
Hct 48.4 % H
Creatinine 3.25 mg/dl H
BUN 47 mg/dl H
Blood ketone positive
Na 130 mmol/L L
K 5.25 mmol/L H
Cl 96 mmol/L L
CO2 18 mmol/L L
HbA1C 8.5 % H
วันที่ 30 เมษายน 2567
Creatinine 5.75 mg/dl. H
BUN 49 mg/dl H
Na 133 mmol/L L
K 4.70 mmol/L H
วันที่ 1 พฤษภาคม 2567
Creatinine 2.12 mg/dl H
BUN 33 mg/dl H
วันที่ 2 พฤษภาคม 2567
Creatinine 1.19 mg/dl H
BUN 17 mg/dl