Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
myasthenia crisis
Myasthenia gravis เป็นโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรงชนิดหนึ่ง…
myasthenia crisis
Myasthenia gravis เป็นโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรงชนิดหนึ่ง เกิดจากร่างกายสร้างสารแอนติบอดีที่ต้านการทำงานของ acetylcholine receptors ซึ่งอยู่ที่ปลายประสาท ทำให้สารสื่อประสาท acetylcholine ไม่สามารถจับกับ receptor ได้ จึงเกิดอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง
สาเหตุ
การได้รับยาบางขนาน
ยากลุ่มฆ่าเชื้อ
โดยเฉพาะ aminoglycoside. สำหรับ buscopan มีฤทธิ์เป็น anticholinergic ซึ่งก็สามารถกระตุ้นให้เกิด myasthenic crisis
-
-
-
รักษา
-
ให้ยาสตีรอยด์พื่อรักษา (ควรพิจารณาให้ด้วยความระมัดระวังเนื่องจากยาสตีรอยด์ที่มรขนาดสูงอาจกระตุ้นให้เกิด myasthenia crisisได้
-
กรณีศึกษา
แพทย์พิจารณาใส่เครื่องช่วยหายใจ Intubation Setting Ventilator Pc-CMV mode Pi=16 mmhg
-ได้รับ hydrocortisone 100 mg
-
ค่าปกติ
-
-
Grade III : ระดับกำลังกล้ามเนื้อน้อยลงชัดเจน ไม่สามารถต้านแรงของแพทย์ได้ แต่ยังสามารถยกแขนขึ้นมาได้เอง (ยังสามารถยกขึ้นมาต้านแรงโน้มถ่วงของโลกได้)
Grade II : ระดับกำลังกล้ามเนื้อน้อยลงอย่างมาก ไม่สามารถต้านแรงของแพทย์ได้เลย และไม่สามารถยกแขนขึ้นมาในแนวต้านแรงโน้มถ่วงของโลกได้ ทำได้แค่ขยับแขนได้ในแนวราบ (ขนานกับพื้นโลก)
-
-
-
5ปีก่อนมาโรงพยาบาล หนังตาตก ptosis,แขนขาอ่อนแรงทั้ง 2 ข้าง
-
Respuratory Failure
suction=เสมหะเหลืองขุ่นมีปริมาณมาก ฟังปอดพบเสียง Rhonchi at right lung T:39.2 c,PR:96 ครั้ว/นาที RR=28 ครั้ง/นาที BP:110/78 mmHg o2=93% DTX:156 mg% Hct stat35%
Platelats count =220,000 WBC=16,300 Neutrophill=90.8%,lymphocyte=6.4.Monocyte=2.6% Chet X-ray พบ infiltration as Right Lung lob
ค่าปกติ
ปริมาณอากาศที่หายใจออกได้เต็มที่หลังจากการหายใจเข้าเต็มที่(vita l capacity) มีค่าเฉลี่ย 4, 130 มิลลิลิตรในชายและ 2,760 มิลลิลิตรในหญิง เป็นค่าที่แสดงถึงสมรรถภาพข องปอด หรือของการหายใจมากที่สุด ถ้าค่านี้มีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่เพิ่มมากกว่าปกติมักไม่มีปัถูหา แต่ถ้าเปลี่ยนแปลงไปในทางลดลงกว่าปกติ จะมีผลต่อการหายใจอย่างมาก (Brunner and Suddarth, 1982 : 168) นอกจากนี้ยังแสดงถึงความ
สามารถของการไออีกด้วย
-
การพยาบาล
1.ประเมินภาวะพร่องออกซิเจน ได้แก่ อัตราการหายใจ การใช้กล้ามเนื้อช่วยในการหายใจ
(accessory muscle) ชีพจร ระดับความรู้สึกตัว สีเล็บปลายมือปลายเท้า เยื่อบุผิวหนัง ลักษณะการซีดหรือเขียว ที่แสดงถึงภาวะพร่องออกซิเจน รายงานแพทย์ทันทีเมื่อพบความผิดปกติ
2.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนทาง Ventilator setting ตามแผนการรักษา ดังนี้ PC-CMV mode Pi=16 mmHg, RR=14 ครั้ง/นาที, FiO2=0.4, PEEP=5 cmH2O เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ และเฝ้าระวังน้ำที่ตกค้างจากท่อช่วยหายใจ
3.ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะ hypercapnia ได้แก่ ระดับความรู้สึกตัวลดลง ซึมลง มีอาการปวดศีรษะ มึนงง นอนหลับมาก หรือมีอาการสับสน วุ่นวาย ก้าวร้าว รายงานแพทย์ทันทีเมื่อพบความผิดปกติ
4.ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา ผู้ป่วยที่ได้การรักษาด้วยการให้ออกซิเจนผสมอากาศอัตราการไหลต่ำ ดูแลปรับอัตราการไหลของออกซิเจนตามแผนการรักษา ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยการใส่ท่อช่วยหายใจและ ใช้เครื่องช่วยหายใจ ดูแลเครื่องช่วยหายใจให้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ
5.จัดท่านอนศีรษะสูง (fowler position) 30-45 องศาเพื่อให้กระบังลมเคลื่อนต่ำลง ปอดขยายตัวได้เต็มที่ เพิ่มพื้นที่ในการแลกเปลี่ยนก๊าซมากขึ้นและSuction clear airway ดูแลทางเดินหายใจให้โล่งป้องกันการอุดตันของเสมหะ ฟังเสียงปอดเพื่อประเมินเสียงปกติในปอด
6.ดูแลให้ผู้ป่วยพักผ่อนบนเตียง ลดการใช้ออกซิเจน ในการทำกิจกรรม หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ใช้แรงมาก รวมทั้งจัดเวลาทำกิจกรรมพยาบาลที่ไม่รบกวนการพักผ่อนของผู้ป่วย
7.ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง ที่ไม่สามารถไอขับเสมหะออกเองได้ ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยการใส่ท่อช่วยหายใจและใช้เครื่องช่วยหายใจ ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง โดยช่วยดูดเสมหะที่สะสมในท่อทางเดินหายใจ หากเสมหะเหนียวข้น มีปริมาณมาก ให้ปรับตั้งอุณหภูมิเครื่องช่วยหายใจให้เหมาะสมอยู่ระหว่าง 37 องศาเซลเซียสและเคาะปอดก่อนดูดเสมหะ
8.ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ โดยเฉพาะค่า Hematocrit เพราะเป็นค่าที่แสดงถึงความเข้มข้นของเลือดในร่างกาย
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-