Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เลือดออกในทางเดินอาหารส่วนต้น
(Upper Gastrointestinal Bleeding),…
-
-
ความรุนแรง
- ภาวะเลือดออกอย่างรุนแรง (massive bleeding) ต้องได้รับเลือดทดแทนอย่างรวดเร็วในอัตรา3-5 ยูนิตภายใน 2 ชั่วโมง เพื่อรับการรักษาความดันโลหิต ให้สามารถผลักดันไปสู่ระบบไหวเวียนได้เพียงพอ
- ภาวะเลือดออกปานกลาง (moderate bleeding) ซึ่งจำเป็นต้องได้รับเลือด 1-2 ยูนิต ก็สามารถปรับความดันโลหิตให้กลับสู่ระดับปกติได้
- ภาวะเลือดออกปานกลางแต่ออกติดต่อกัน (moderate and continuous bleeding) จำเป็นต้องได้รับเลือด 1-2 ยูนิต ทุก 6-8 ชั่วโมง เพื่อให้มีความดันโลหิตปกติ
- ภาวะเลือดออกช้า (Continuous bleeding)ไม่รุนแรงโดยสังเกตได้จากระดับฮีมาโตคริตลดต่ำลงวันละ 2-3 %
- ภาวะเลือดออกที่เกิดภายหลังจากการตกเลือดครั้งแรกหยุดแล้ว (recurrent bleeding) การตกเลือดอาจมากหรือน้อยก็ตาม
-
การป้องกัน
-
-
-
หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์ เพราะไปเพิ่มความเป็นกรดในกระเพาะอาหาร จนทำให้เกิดการกัดเยื่อบุกระเพาะอาหารหรือลำไส้เล็กส่วนต้นเป็นแผลได้ และแอลกอฮอล์ยังทำให้เกิดตับแข็งทำให้มีหลอดเลือดในหลอดอาหารโป่งพองและเลือดออกง่ายขึ้น
หลีกเลี่ยงการรับประทานยาในกลุ่มแก้ปวดหรือยาแก้อักเสบ เช่น แอสไพริน ไอบูโพรเฟน ขณะท้องว่างเพราะจะสร้างความระคายเคืองกับเยื่อบุภายในช่องท้อง
-
-
-