Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Inguinal hernia (ไส้เลื่อนบริเวณขาหนีบ) :star: - Coggle Diagram
Inguinal hernia (ไส้เลื่อนบริเวณขาหนีบ) :star:
การรักษา
ในกรณีที่ไม่สามารถดันก้อนกลับที่เดิมได้ วิธีการรักษาคือ
การผ่าตัดซ่อมแซมไส้เลื่อน(Hemioplasty)
เป็นการเสริม inguinal floor ด้วย mesh ที่ผลิตจากสารสังเคราะห์ที่ไม่ละลายหลังผ่าตัดเนื้อพังผืดจะงอกเข้าไปใน mesh และรอบๆ จน inguinal floor มีความหนาและแข็งแรง
การผ่าตัดถุงไส้เลื่อนและเย็บซ่อมแซม
ผนังด้านใน(Hemiorhaphy)
เป็นการเย็บให้ internal ring แคบลงและเสริมผนังด้านหลังของ inguinal canal ให้หนาและแข็งแรงขึ้น
ในกรณีที่ดันไส้เลื่อนกลับได้เราสามารถดันไส้เลื่อนกลับได้
อาการและอาการแสดง
ตามทฤษฎี
ท้องอืด
คลื่นไส้ อาเจียน
ปวดท้อง
รู้สึกปวดหน่วงๆบริเวณข้างใดข้างหนึ่ง
มีก้อนบริเวณขาหนีบข้างใดข้างหนึ่ง
ก้อนจะโดขึ้นในตอนที่ยกของหนัก
ตามกรณีศึกษา
ปวดหน่วงๆมากบริเวณขาหนีบข้างซ้าย
มีก้อนเวลายกของหนัก
/ ผู้ป่วยประกอบอาชีพทำฟาร์มหมู ก้อนจะขึ้นชัดเจนเวลายกอาหารหมู
มีก้อนบริเวณขาหนีบข้างซ้าย
พยาธิสภาพ
ไส้เลื่อน (hernia) คือ ภาวะที่อวัยวะหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของอวัยวะในช่องท้องยื่นออกจากช่องท้อง ผ่านทางผนังหน้าท้องที่มีรูเปิดผิดปกติหรือส่วนผนังหน้าท้องอ่อน เกิดขึ้นได้หลายตำแห่งสามารถเกิดขึ้นได้ทุกเพศทุกวัย พบมากถึง 80 % คือ ไส้เลื่อนบริเวณขาหนีบ
สาเหตุ
ตามทฤษฎี
1.
มีการเพิ่มความดันในช่องท้องเรื้อรัง เช่น ไอเรื้อรัง ต้องเบ่งอุจาระบ่อย ๆ ในคนที่ท้องผูก ต้องใช้แรงเบ่งเวลาปัสสาวะในโรคต่อมลูกหมากโต อาชีพที่ต้องยกของหนักๆหรือยืนนานๆ มีน้ำในช่องท้องและมีน้ำหนักมากเกินไปทำให้ความดันในช่องท้องเพิ่มมากขึ้น
มีความอ่อนแอของผนังหน้าท้อง
-ในเด็กมักเป็นความผิดปกติแต่กำเนิด ที่เยื่อบุภายในช่องท้องปิคไม่สมบูรณ์
-ในผู้ใหญ่ มักเกิดจากอายุที่เพิ่มขึ้น ทำให้กล้ามเนื้อผนังหน้าท้องอ่อนแอลง
ตามอาการ
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 37 ประกอบอาชีพทำฟาร์มหมู จึงจำเป็นต้องยกของหนัก เช่น ยกอาหารหมู
การวินิจฉัย
ตามทฤษฎี
-การตรวจร่างกายตรวจดูว่ามีก้อนที่ขาหนีบข้างใดเนื่องจากโรคไส้เลื่อนจะเห็นก้อนชัดขึ้น เมื่อมีการเพิ่มความคันในช่องท้องและอาจไม่เห็นก้อนเมื่อมีความดันในช่องท้องนื้อทำให้การตรวจบนเตียงในท่านอนอาจไม่พบก้อนดังนั้น ผู้ป่วยจึงถูกให้ไอหรือเบ่งในขณะที่แพทย์ตรวจเพื่อให้เห็นก้อนโผล่ออกมาที่ขาหนีบซึ่งถ้าพบก็สามารถให้การวินิจฉัยโรดนี้ได้โดยไม่จำเป็นต้องตรวจเพิ่มเติมอีก
-ซักประวัติ ผู้ป่วยจะมีก้อนเกิดขึ้นที่บริเวณขาหนีบ
-การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ไม่จำเป็นต้องทำในผู้ป่วยทุกราย จะพิจารณาส่งเฉพาะในรายที่วินิจฉัยได้ยาก เช่น อ้วนมากก็จะพิจารณาส่งตรวจด้วยวิธีใช้คลื่นเสียงความถี่สูง(ultrasound)เพิ่มเติม
ตามกรณีศึกษา
-ผู้ป่วยบอกว่ามีก้อนบริเวณขาหนีบข้างซ้าย
-การตรวจร่างกาย พบก้อนบริเวณขาหนีบของซ้ายโดยให้ผู้ป่วยเบ่งในขณะตรวจ
ข้อวินิจฉัย
Post-Op
เสี่ยงติดเชื้อเนื่องจากมีแผลเปิดสู่ภายนอก
เสี่ยงได้รับสารอาหารไม่เพียงพอเนื่องจากรับประทานอาหารได้น้อย
ปวดเนื่องจากเนื้อเยื่อถูกทำลาย
พร่องกิจวัตรประจำวันเนื่องจากความสามาถในการดูแลตัวเองลดลง
เสี่ยงเกิดภาวะแทรกซ้อนจากยาระงับความรู้สึกชนิด GA
พร่องความรู้ในการดูแลตัวเองหลังกลับบ้าน
Pre-Op
วิตกกังวลเกี่ยวกับการเจ็บป่วย
ปวดขาหนีบบริเวณขาหนีบข้างซ้ายเนื่องจากพยาธิสภาพของโรค
ในกรณีศึกษานี้ผู้ป่วยได้รับการผ่าตัดถุงไส้เลื่อนและเย็บซ่อมแซมผนังด้านใน(Hemiorhaphy)