Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะลิ่มเลือดอุดตันในปอด Pulmonary Embolism, ภาวะการหายใจล้มเหลว…
ภาวะลิ่มเลือดอุดตันในปอด
Pulmonary Embolism
พยาธิสภาพ
ความผิดปกติในการแข็งตัวของเลือด ทำให้เกิดลิ่มเลือดได้ง่าย (Hyper coagulate states)
ความอ่อนแอของผนังหลอดเลือดดำที่เกิดจากการถูกแรงกระแทก ทำให้เกิดการฟกช้ำ แล้วมีการอักเสบ
จากการที่ร่างกายไม่ได้เคลื่อนไหวเป็นเวลานาน ทำให้การไหลเวียนเลือดลดลง (Immobilization)
ความหมาย
Massive PE
SBP<90mmHgหรือBP dropที่ได้รับยา Inotropic
แรกรับมีBP drop on Inotropic drug
หัวใจหยุดเต้นหรือคลำชีพจรไม่ได้
Bradycardia<40 bpm + sign of shock
Submassive PE
SBPมากว่าหรือเท่ากับ90mmHg + ภาวะRV dysfunctionหรือmyocardial necrosis
RV dysfunction หมายถึงภาวะดังต่อไปนี้อย่างน้อย 1 อย่าง
1.พบ RV dilation หรือพบ RV systolic dysfunction โดยการทำEchocadiography
2.พบ RV dilation จากการทำ CT scan
3.ค่าBNP ผิดปกติ >90 pg/mL
4.ค่าN-terminal pro-BNP ผิดปกติ >500 pg/mL
5.EKG 12 Leads ผิดปกติ พบS1Q3T3
Myocardial necrosis
คือภาวะที่ผลTrop-Iเพิ่ม>0.4ng/mL หรือผล Trop-Tเพิ่ม>0.1ng/mL
อาการแสดง
หายใจหอบเหนื่อยมากอย่างกะทันหัน ใจสั่น แน่นหน้าอก หน้ามืด เป็นลม หรือหมดสติ
ระดับออกซิเจนในเลือดต่ำ (Hypoxemia) หัวใจเต้นเร็วและมีหลอดเลือดดำที่คอโป่งพอง
ฟังปอดปกติหรืออาจฟังได้ยินเสียงวี๊ด(wheezing)ในหลอดลม
ตัวเย็น ปลายมือปลายเท้าเขียว
การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Chest X-ray
RLL infiltration :check:
Echocardiography
RV dilated :check:
ABG
Metabolic acidosis :check:
ค่า Biomarkers ต่างๆได้แก่ D-dimer,Troponin-IหรือT
CTA
Multiple acute pulmonary embolism :check:
การรักษา
การให้ยาละลายลิ่มเลือด(Thrombolysis)
rt-PA
SK
การให้ยาต้านลิ่มเลือด(anticoagulants)
Heparin
Enoxaparin
การใส่ Vena caval filter
การฟื้นฟูกู้ชีวิต
การแก้ไขภาวะขาดออกซิเจนในเลือดโดยการให้ออกซิเจน ถ้าผู้ป่วยไม่รู้สึกตัวอาจจะต้องใส่ท่อหลอดลมคอ เพื่อช่วยการหายใจ
caseนี้ On ETT ตั้งแต่เเรกรับ Try wean ventilatorไม่สำเร็จ แพทย์จึงพิจารณาทำTracheostomy
:check:
:red_flag:4.เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนขณะทำ Tracheostomy
:red_flag:5.เสี่ยงต่อการหย่าเครื่องช่วยหายใจไม่สำเร็จ
:red_flag:7.เสี่ยงต่อการเกิดภาวะHypoglycemiaและhyperglycemia
ให้สารน้ำเพื่อเพิ่มปริมาณไหลเวียนของเลือด หากผู้ป่วยมีความดันโลหิตต่ำร่วมกับให้ยาInotropic
ภาวะการหายใจล้มเหลว Respiratory failure
เป็นภาวะที่ระบบหายใจไม่สามารถทำหน้าที่ระบายอากาศและแลกเปลี่ยนก๊าซได้เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย จะมีระดับPaO2ต่ำกว่าปกติ และPaCO2สูงกว่าปกติ และร่างกายมีความเป็นกรดมากขึ้น
พยาธิสภาพ
Hypoxemia
กระตุ้นซิมพาเทติกทำให้มีชีพจรเร็ว ความดันเลือดสูง เหงื่อออก กระสับกระส่าย อาจมีหัวใจเต้นผิดจังหวะ
กระตุ้นศูนย์ควบคุมการหายใจ ทำให้มีอาการหายใจเร็วและลึก กล้ามเนื้อในการหายใจทำงานมากขึ้น ทำให้เหนื่อยง่าย
เลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายลดลง ทำให้ระดับความรู้สึกตัวลดลง มีอาการชัก หายใจผิดปกติและหยุดหายใจในที่สุด หัวใจบีบตัวลดลง หัวใจเต้นผิดจังหวะ ความดันเลือดต่ำ
Hypercapnia
กระตุ้นซิมพาเทติกทำให้มีชีพจรเร็ว ความดันเลือดสูง ในระยะแรกเป็นศูนย์ควบคุมการหายใจ ทำให้มีอาการหายใจเร็วและลึก
หลอดเลือดทั่วร่างกายขยายตัว ทำให้ความดันโลหิตต่ำในระยะแรก ผิวหนังแดงอุ่น และมีหลอดเลือดในสมองขยายตัว ทำให้มีอาการปวดศีรษะ
กดการทำงานของสมอง ทำให้มีอาการสับสน ซึม ง่วงนอน หมดสติ และกล้ามเนื้อกระตุก
กดการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ ทำให้หัวใจบีบตัวลดลงและหัวใจเต้นผิดจังหวะ
:red_flag:6.มีภาวะไม่สมดุลของเกลือแร่ในร่างกาย เนื่องจากมีภาวะHypokalemia
ชนิดของภาวะการหายใจล้มเหลว
แบ่งตามระยะเวลาการเริ่มต้นการเกิด สามารถแบ่งได้เป็น 2 ชนิด
การหายใจล้มเหลวอย่างเฉียบพลัน (Acute respiratory failure)
ภาวะที่มีการบกพร่องของPaO2 โดยต่ำกว่า 50 mmHg หรือPaCO2สูงกว่า 50 mmHg เกิดขึ้นอน่างรวดเร็ว
การหายใจล้มเหลวอย่างเรื้อรัง (Chronic respiratory failure)
ภาวะที่มีการป้องกันของPaO2และPaCO2 สูงขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป
เกิดหลัง48-72ชั่วโมง ร่างกายสามารถปรับชดเชยโดยการสร้างเม็ดเลือดแดงเพิ่มขึ้นและไตชดเชยภาวะการเป็นกรดด่างของร่างกาย โดยการเก็บคาร์บอเนตไว้เพิ่มขึ้นและมีผลให้HCO3 ในเลือดสูง
แบ่งตามกลไกการเกิดและค่าของPaO2สามารถแบ่งได้ 2 ชนิด
การถ่ายทอดออกซิเจนล้มเหลว
ภาวะหายใจล้มเหลวที่เกิดจากความผิดปกติของการแลกเปลี่ยนก๊าซ เนื่องจากความผิดปกติของเนื้อปอดและหลอดเลือดปอด
ส่งผลให้ระดับPaO2ลดลงแต่ไม่มีการคั่งของCO2 เนื่องจากร่างกายปรับสภาพ โดยการเพิ่มการระบายอากาศในถุงลมส่วนอื่นที่ปกติ
การระบายอากาศล้มเหลว
เกิดจากการระบายอากาศน้อยกว่าปกติ อากาศไม่สามารถกระจายไปยังถุงลมอย่างสม่ำเสมอ การระบายอากาศจึงไม่เพียงพอสำหรับการแลกเปลี่ยนก๊าซ มีการคั่งของPaCO2ทำให้เกิดhypoxia
สาเหตุของภาวะการหายใจล้มเหลว
ความผิดปกติที่ปอด
Obstructive pulmonary function
Asthma / COPD /สิ่งแปลกปลอมอุดกั้นหลอดลม
Respiratory pulmonary function
Pneumonia
Pulmonary edema
Atelectasis
ความผิดปกติของหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงปอด
Pulmonary embolism
ความผิดปกติที่ช่องทรวงอกและเยื่อหุ้มปอด
Chest injury
การได้รับการผ่าตัดช่องทรวงอก
ความผิดปกติที่ระบบประสาทส่วนกลาง
ศูนย์ควบคุมการหายใจถูกกด
สมองได้รับบาดเจ็บ
สมองขาดเลือด
สมองอักเสบ
ความผิดปกติของระบบประสาทและกล้ามเนื้อ
บาดทะยัก
โปลิโอ
การบาดเจ็บของไขสันหลัง
Myasthenia Gravis
Guiliain Berre Syndrome
ความผิดปกติของระบบหัวใจและหลอดเลือด
Shock
Left side heart failure
การรักษา
ให้เนื้อเยื่อได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ให้O2เพื่อแก้ไขภาวะHypoxemia
แก้ไขภาวะอุดกลั้นในหลอดลม
แก้ไขภาวะAlveolarhypoventilation
การรักษาโรคหรือสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะการหายใจล้มเหลว
รักษาตามสาเหตุ
รักษาปอดอักเสบโดยใช้ATB
:red_flag:1.แบบแผนการหายใจไม่มีประสิทธิภาพ เนื่องจากมีการติดเชื้อที่ปอด
:red_flag:2.การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
ให้O2ความเข้มข้นสูง ยกเว้นในรายที่เป็นCOPD
การรักษาตามอาการ
การให้อาหารและสารน้ำอย่างเพียงพอ
อาการและอาการแสดง
Respiratory system
หายใจเร็ว หายใจลำบาก ระยะท้ายจะมีอาการหายใจเบาตื้นและช้าลง จนกระทั่งหยุดหายใจและมีอาการเขียว
Cardiovascular system
HRเร็ว BPสูง Arrhythmiaและระยะท้ายมีBPdrop
Central nervous system
ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง สับสน กระสับกระส่าย
ภาวะSevere hypoxemia ผู้ป่วยจะซึมลงและไม่รู้สึกตัว
เกิดภาวะHypercapnia คือปวดศีรษะ ผิวหนังอุ่นแดง ซึมลง ชักและไม่รู้สึกตัว
Hematologic effect
เม็ดเลือดแดงเพื่มขึ้นเพื่อเพิ่มออกซิเจนในเลือด
Acid-base balance
เมื่อมีภาวะHypoxemiaรุนแรงมากขึ้น ภาวะความเป็นกรดมากขึ้นจะกระตุ้นการหายใจเร็วขึ้นเป็นการชดเชยความเป็นกรด
EKG 12 Leads
Tachycardia with S1Q3T3 :check:
อาการที่ส่งผลให้เกิดการเจ็บป่วย
อาการที่ส่งผลให้เกิดการเจ็บป่วย
:red_flag:8.เสี่ยงต่อการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ
:red_flag:9.เกิดแผลกดทับ เนื่องจากนอนนานและผิวหนังถูกทำลาย
:red_flag:10.พร่องกิจวัตรประจำวัน เนื่องจากถูกจำกัดการเคลื่อนไหว
:red_flag:3.เสี่ยงต่อการมีเลือดออกง่าย เนื่องจากได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือด
:warning:
:warning:
:explode:
:explode:
:explode:
:explode:
:!!:
ผู้ป่วยชายไทย อายุ 71 ปี :explode:
Dx.Acute massive Pulmonary embolism