Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยเพศหญิง อายุ 15 ปี - Coggle Diagram
ผู้ป่วยเพศหญิง อายุ 15 ปี
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ค่า CBC
Hb 9.3 g/dL ต่ำ
Hct 28.7% ต่ำ
Platelet count 423 x10^3cells/mm3 สูง
Neutrophil 8.4% สูง
Lymphocyte 11% ต่ำ
Corrected WBC 17.7
RBC count 3.43 x10^3cells/mm3 ต่ำ
ค่า Liver Function Test
Total billirubin 0.50 mg% ต่ำ
ค่า Blood lactate 6.8 mmol/L สูง
Glucose ปลายนิ้ว 140 mg% สูง
อาการสำคัญ : ปวดท้องน้อย , ปัสสาวะแสบขัด 1 วันก่อนมา
วินิจฉัยโรค
Rupture Extopic Pregnancy
(การตั้งครรภ์นอกมดลูก)
พยาธิ
หลอดมดลูกข้างที่เป็นจะมีเลือดออกมาเลี้ยงเป็นจำนวนมาก หลอดเลือดแดงและดำจะขยายตัวโตขึ้นอย่างมาก โดยเฉพาะบริเวณใกล้เคียงกับส่วนที่รกเกาะจะบวมเป่ง
การสิ้นสุดการตั้งครรภ์นอกมดลูก
การแท้ง (Tubal abortion) ส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นขณะตั้งครรภ์ได้ 6-12 สัปดาห์
การแตก (Tubal rupture) ส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นภายใน 12 สัปดาห์ หรือ ถ้าหลอดมดลูกแตกในระยะ 2-3 สัปดาห์แรก
ผู้ป่วยหญิงอายุ 15 ปี no u/d (G1P0 GA 9 wk by LMP , 1st dx pregnancy)
วินิจฉัยโรค Rupture Extopic Pregnancy
การรักษา
การรักษาแบบประคับประคองและสังเกตอาการ
การรักษาด้วยการผ่าตัด
การผ่าตัดแบบ Salpingectomy Right
คือ การตัด fallopian tube ออกไปทั้งหมดในข้างนั้นๆ พร้อมกับชิ้นส่วนของการตั้งครรภ์
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล ข้อที่ 4 เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดช่วง 24 ชั่วโมงแรก
S : ผู้ป่วยบอก ‘เมื่อคืนไปผ่าตัดมาค่ะ’
O : วันที่ 18 เมษายน 2567 ผู้ป่วยผ่าตัด Salpingectomy Right
วัตถุประสงค์
ผู้ป่วยไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยมีสภาพรู้สติเร็วหลังผ่าตัด และสัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ
มีการฝึกหัดการปฏิบัติตนหลังผ่าตัดตามแผนการฟื้นฟูสภาพ
แผลผ่าตัดได้รับการดูแลตามหลักการป้องกันติดเชื้อ
การพยาบาล
ตรวจและบันทึกชีพจร การหายใจ ความดันโลหิต อุณหภูมิ ชีพจร ทุก 15 นาที 2 ชั่วโมงแรกหลังการผ่าตัด ทุก 30 นาที 2 ชั่วโมง ทุก 4 ชั่วโมง ภายใน 3 วันหลังผ่าตัด
ฝึกหัดและกระตุ้นให้ผู้ป่วยหายใจลึกๆ และไอย่างถูกต้อง
กระตุ้นให้ผู้ป่วยมีการเคลื่อนไหวตามความเหมาะสม
ตรวจและบันทึกลักษณะของแผลผ่าตัด ทุก 3-4 ชั่วโมง หลีกเลี่ยงการจับต้องแผลผ่าตัดจนกว่าจะครบ 7 วันผ่าตัด
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่ 1 ปวดแผลระดับรุนแรงเนื่องจากมีการฉีกขาดของเนื้อเยื่อจากการผ่าตัดทางหน้าท้อง
O : จากการสังเกตสีหน้าผู้ป่วย หน้านิ่วคิ้วขมวด มีอาการหอบเหนื่อยระหว่างพูดคุย หรือพูดเป็นคำๆ กระสับกระส่าย ซีด สัญญาณชีพ T 36 องศาเซลเซียส BP 110/70 mmHg PR 150/min RR 22/min , Pain score 8 คะแนน
S : ผู้ป่วยบอก ‘ปวดท้องน้อยจี๊ดๆที่ผ่ามาเมื่อวาน’
วัตถุประสงค์ : ผู้ป่วยมีอาการปวดแผลลดลง
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยปวดแผลน้อยลง หรือ Pain score 4 คะแนน
ผู้ป่วยมีสีหน้าสดชื่น ยิ้มแย้มแจ่มใส
ไม่มีอาการซีดและหอบเหนื่อย
การพยาบาล
ประเมินระดับความปวดของแผลผ่าตัด (level of pain score) และดูแลให้ยา Paracetamol (500) 1 tab po prn q 4 hr และ Ponstan (250) 2x3 po pc ลดปวดตามแผนการรักษา เพื่อบรรเทาอาการปวด
ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
จัดให้นอนท่าศีรษะสูงเล็กน้อย เพื่อให้กล้ามเนื้อหน้าท้องหย่อนตัว ลดการดึงรั้งของแผล ช่วยให้อาการปวดทุเลาลดลง
พยายามฝึกตะแคงตัว เพื่อเป็นตัวช่วยในการลุกนั่งของผู้ป่วย ไม่ควรลุกในท่านอนหงายเพราะอาจเกิดอันตรายต่อ ร่างกายและบาดแผลได้
กระตุ้นการหายใจแบบผ่อนคลาย (deep breathing exercise)
จัดสิ่งแวดล้อม เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยพักผ่อนอย่างเพียงพอ
ประเมินระดับความปวดซ้ำหลังทำกิจกรรมการพยาบาล
ปัจจัยเสี่ยง
ประวัติตั้งครรภ์นอกมดลูกมาก่อน
ประวัติเคยผ่าตัดต่อรังไข่
การทำหมันหญิง
การติดเชื้ออุ้งเชิงกราน
การใส่ห่วงยางอนามัย
การคุมกำเนิดโดยใช้ฮอร์โมน
ภาวะมีบุตรยาก
การสูบบุหรี่
การได้รับ diethylstibestrol (DES) ขณะอยู่ในครรภ์
การสวนล้างช่องคลอด
มีเพศสัมพันธ์ก่อนอายุ 18 ปี
ผู้ป่วยอายุ 15 ปี มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ได้ป้องกัน
อาการและอาการแสดง
อาการ
ปวดท้องน้อย ปวดแบบบิดๆ อาจเป็นข้างเดียวหรือสองข้าง
ผู้ป่วยมีอาการ ปวดท้องน้อย ปวดบิด ทางด้านขวา
เลือดออกทางช่องคลอด
ขาดประจำเดือน 1-2 เดือน
ผู้ป่วยมีประวัติประจำเดือนไม่มา 2 เดือน เดือนกุมภาพันธ์และมีนาคม มาล่าสุดเดือนเมษายน วันที่ 4 เมษายน 2567
อาการหน้ามืด เป็นลม
ผู้ป่วยมีอาการหน้ามืดตอนลุกยืน
ช็อคจากการเสียเลือด (Hypovolemic shock)
อาการแสดง
Alder sign ผู้ป่วยจะมีอาการกดเจ็บที่เดิม (Fixed abdominal tenderness)
ผลตรวจร่างกายวันที่ 17 เมษายน 2567
Abdominal : marked tenderness at supra pubic witn bound tenderness positive
สัญญาณชีพ มักจะไม่มีไข้ ผู้ป่วยที่มีเลือดออกในช่องท้องอาจพบ orthostatic hypotention และชีพจรเต้นเร็ว
ผู้ป่วยมีสัญญาณชีพ BP 110/70 mmHg , P 150/min,
RR 18/min ,T 36 c。
การตรวจภายใน
ปากมดลูกมีสีคล้ำ มดลูกนุ่ม แต่อาจไม่พบได้โดยเฉพาะในรายที่มีการเสียเลือดมากจนซีด
เจ็บเมื่อโยกปากมดลูก
ข้อวินิจฉัย
ตรวจระดับ Hct และ Hb ที่ค่อยๆต่ำลง และการตรวจ β-hCG ในเลือด
ผู้ป่วยได้รับการตรวจ β-hCG วันที่ 18 เมษายน 2567
318 mIU/mL
ผู้ป่วยได้รับการตรวจ Hct,Hb วันที่ 17 เมษายน 2567 เท่ากับ Hct 9.3 g/dL ต้ำและ Hb 28.7 %ต่ำ
การตรวจคลื่นเสียงความถี่สูง (อัลตราซาวด์)
การส่องกล้องตรวจในอุ้งเชิงกราน (laparoscopy)
การตรวจทางหน้าท้อง
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่ 2 เสี่ยงต่อการเกิด Hypovolemic shock เนื่องจากเสียเลือดมาก
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ป่วยไม่เกิด Hypovolemic shock
เกณฑ์การประเมิน
ไม่มีภาวะช็อก สัญญาณชีพปกติ
ค่า HCT อยู่ระหว่าง 30-40%
ได้รับสารน้ำเพียงพอ
O : ตรวจร่างกายวันที่ 17 เมษายน 2567 Tranabdominal : empty uterus, free fluid c blood clot at pelvic cavity FAST positive, not seen adx mass , 2000 ml blood at sww then iv 120 ml/hr
การพยาบาล
เจาะเลือดตรวจหา Hct , Hb ทุก 6 ชั่วโมง และเตรียมเลือดไว้ให้ทดแทนเมื่อมีการเสียเลือดมาก
สังเกตและบันทึกลักษณะ และจำนวนของเลือดที่ออกทางช่องคลอด
ประเมินสภาพร่างกายที่แสดงถึงอาการการเสียเลือดภายใน
(Internal hemorrhage)
ในกรณีที่ผู้ป่วยอยู่ในภาวะช็อก ต้องวัดสัญญาณชีพอย่างน้อยทุก 30 - 60 นาที หรือตามแผนการรักษาของแพทย์
วัดและประเมินสารน้ำเข้า-ออก ทุก 2-4ชั่วโมง ถ้าปัสสาวะออกน้อยกว่า
0.5 มิลลิลิตร/น้ำหนักตัว 1กิโลกรัม/ ชั่วโมง จะต้องรายงานแพทย์ทันที
ตรวจสอบการไหลเวียนของเลือดส่วนปลาย (Capillary refill) ทุก 1 ชั่วโมงถ้า capillary refill มากกว่า 2 วินาที ควรสังเกตอาการ ผิดปกติ และหากพบอาการผิดปกติอื่นๆ เช่น
ซีด เขียวตามปลาย มือปลายเท้าให้รายงานแพทย์ทันที
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำสารน้ำ RLS 1000 ml IV rate 100 ml/hr พร้อมตรวจสอบอัตรา การไหลของสารน้ำให้ถูกต้อง อย่างเคร่งครัดตามแผนการรักษา
เตรียมอุปกรณ์และเครื่องมือเครื่องใช้ให้พร้อมใช้ ในกรณี ที่เกิดภาวะฉุกเฉินและต้องให้การช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน
ผู้ป่วยตรวจร่างกายวันที่ 17 เมษายน 2567 Tranabdominal : empty uterus, free fluid c blood clot at pelvic cavity FAST positive, not seen adx mass
Culdocentesis เพื่อวินิจฉัยภาวะเลือดออกในช่องท้อง
Urine Pregnancy Test
ประวัติเจ็บป่วยปัจจุบัน
2 วัน ก่อนมาโรงพยาบาล มีอาการปวดท้องน้อย ไม่ร้าวไปไหน ไปคลินิค ได้ยามากิน อาการไม่ดีขึ้น
วันนี้ ปวดท้องน้อยด้านล่างขวามากขึ้น ปัสสาวะแสบขัด มีคลื่นไส้ ไม่อาเจียน กินได้น้อยไม่มี ไข้ ไม่ถ่ายเหลว จึงมาโรงพยาบาล
LMP 4/4/2567 * 6 วัน ออกปกติ , PE หญิงอายุ 15 ปี no u/d (G1P0 GA 9 wk by LMP , 1st dx pregnancy)
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล ข้อที่ 3 ขาดความรู้ความเข้าใจในการป้องกันตนเองจากการมีเพศสัมพันธ์
O : จากการสัมภาษณ์พบว่า ผู้ป่วยอยู่กับแฟนคบได้ 1 ปี ไม่ได้ใส่ถุงยางอนามัยขณะมีเพศสัมพันธ์และไม่มีการคุมกำเนิด
S : ผู้ป่วยบอก ‘ตอนมีเพศสัมพันธ์ ไม่ได้ใส่ถุงยาง’
วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันตนเองขณะมีเพศสัมพันธ์
2.เพื่อส่งเสริมการป้องกันตนเองขณะมีเพศสัมพันธ์
เกณฑ์การประเมิน
เพื่อให้ผู้ป่วยมีความรู้และความเข้าใจในการป้องกันการมีเพศสัมพันธ์
การพยาบาล
ให้ความรู้เกี่ยวกับการคุมกำเนิดด้วยยาคุมกำเนิด
(Oral contraceptive pill)
สวมใส่ถุงยางอนามัยทุกครั้ง เมื่อมีเพศสัมพันธุ์
การฉีดยาคุมกำเนิด ช่วยยับยั้งการตกไข่
ใช้ห่วงคุมกำเนิดหรือห่วงอนามัย