Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
palliative care in Chest disease (non malingnacy), อาการค่อนข้างเยอะ …
palliative care in Chest disease (non malingnacy)
respiratory disease ระยะสุดท้าย
COPD รักษาได้ แต่กว่าจะมารักษา อาการไปเยอะแล้ว อยู่เฉยๆก็เหนื่อย
การดำเนินโรค จะมีอาการเหนื่อยขึ้นเรื่อยๆ
Chronic interstitial lung disease
idiopathic pulmonary fibrosis ปอดเป็นพังผืดไม่มีสาเหตุ
pulmonary fibrosis associated CNT disease : scleroderma, Rhumatiod
Pneumoconiosis : silicosis ปอดจากการทำงาน เหมืองแร่ ฝุ่น ถึงเลิกทำงาน อาการก็แย่ได้
progessive, incurable, irreversible, no specific treatment
Pulmonary hypetension
Other : old TN Destroy lung
อาการ
dyspnea at rest หรือออกแรงเพียงเล็กน้อยก็เหนื่อย
Hypoxemia
บวม right sided HF
ไอ เสมหะมาก ขับออกไม่ได้
ทำกิจวัตรประจำวัน ช่วยเหลือตนเองไม่ได้, bed ridden, cachexia, anorexia, malnutrition, constipation ท้องอืด
นอนไม่หลับ
ปัญหาที่เกิดจากการใช้ยา ใช้ยาไม่ได้ ไม่มีแรงสูดยา
ผลข้างเคียงจากยา เช่น ปากแห้ง เจ็บปาก ท้องอืด
Emotional Depression, anxiety รู้สึกตัวเองเป็นภาระ กลัวการมา รพ. กลัวการใส่ท่อ
เมื่อไหร่ที่บอกได้ว่า pt เข้าสู่ช่วง palliative care
pt. ผอมมาก BMI น้อยๆ
FEV1 < 30 %
re admiss บ่อยๆ 3ครั้ง/1ปี
long term oxygen therapy
อาการเยอะ ถึงแม้จะได้รับการรักษาสูงๆแล้ว
ช่วยเหลือตนเองไม่ได้
Rt. herat failure
Assessment
understanding
pt+Fam ทราบความรุนแรง การดำเนิน และแนวทางการรักษา
Symptom assessment
pulmonary
pulmonary symptoms (cough, dyspnea) with daily activities
non pulmonary
Pain
psychological
fatique and sleep disturbance
Distressing psychological symptoms (depression and anxiety)
Constitutional symptoms (anorexia and weight loss)
social/spiritual
มีความกังวลเกี่ยวกับเรื่องใด มีความต้องการ social support, spiritual care เรื่องใด
decision making
pt ตัดสินใจในการรักษาเอง/Fam/healthcare worker ตัดสินใจ
หากคนอื่ตัดสินใจ แจ้งให้ fam ทราบหรือยัง
pt+Fam ต้องการความช่วยเหลือ/ข้อมูลใดๆในการตัดสินใจ
Identification of patient-centered goals of care
เป้าหมายที่เป็นจริง ที่ผู้ป่วยต้องการจากการรักษา
การรักษาขณะนี้ นำไปสู่เป้าหมายหรือไม่
pt ได้ทำ advance care planning process?
มีการทำ ACP เป็นลายลักษณฺอักษรหรือไม่
Coping with life-threatening illness
หากมีภาวะ life-threatening เกิดขึ้น pt, care giver, fam วางแแผนจัดการอย่างไร
Coordination of care
อะไรคืออุปสรรค ในการเข้าสู่ระบบการรักษา หากเกิดภาวะฉุกเฉิน เช่น การมาตามนัด ไม่มีคนพามา อยู่คนเดียว ไม่มี oxygen
ระบบการเข้าสู่การรักษาในระดับ home, primary, terriary care
management
patient self management education
ถามผู้ป่วย มีอะไรที่สงสัยหรือ ทำไม่ได้หรือไม่
การหายใจเมื่อมีอาการเหนื่อย การสงวนพลังงาน เช่นขึ้นบันได ยกของ ให้หายใจแบบ purse lip diaphragmatic breathing
action plan สามารถลด ER visit และ re-admission ได้
symptom control
pulmonary symptoms (cough, dyspnea) with daily activities
dyspnea
symptoms
Bronchospasm
Air trapping
Secretion
Emphysema
respiratory muscle fatigue
Psychological : pain anxiety
dyspne crisis
Cough
Pain
fatique and sleep disturbance
Distressing psychological symptoms (depression and anxiety)
Constitutional symptoms (anorexia and weight loss)
Psycho/ social support
ACP advance care planning
medication
Opooids
if on opioid for pain : increase dose 30-50%
start immediate-release MO 0.5-1 mg q 4 hrs. max 30 mg/d
BZP
lorazepam 0.5-1 mg sl panic attacks
Diazepam (oral) for longer term management
Midazepam 2.5 mg sc 5-10 mg iv over 24 hrs.
อาการค่อนข้างเยอะ dyspnea insomnia
pt. ไม่ทราบ prognosis เนื่องจากทำนายได้ยาก มีปัจจัยอื่นนอกจาก PPS มาเกี่ยวข้อง