Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ Urinary Tract infection (UTI), อาการ, อาการ -…
การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ Urinary Tract infection (UTI)
พยาธิสภาพ
เชื้อจุลชีพเข้าสู่กระเพาะปัสสาวะ จะเกาะติดกับผนังเยื่อบุเซลล์
เกิดการอักเสบของเนื้อเยื่อ+การระคายเคือง
ปริมาตรความจุของกระเพาะปัสสาวะผิดปกติ+สูญเสียความยืดหยุ่น
กระเพาะปัสสาวะยืดขยาย
ปัสสาวะบ่อยกลั้นไม่ได้
มีการคั่งค้างของปัสสาวะ
เชื้อผ่านจากกระเพาะปัสสาวะเข้าสู่ท่อไต >> เกาะติดกับผนังท่อไต
ท่อไตขยายตัว และเกิดการอุดตัน (physiologic obstruction)
1 more item...
สาเหตุ
มักเป็นแบคทีเรียโดยเฉพาะกลุ่ม E.coli รองลงมา คือ Klebsiella
pseudomonas อาจพบเชื้อ group B Streptococcus ได้บ่อยกว่าเด็กโต
เชื้อไวรัส เชื้อรา หรือเกิดจากไวรัสขนาดเล็ก เช่นพยาธิเส้นด้าย
เชื้อโรคเข้าอยู่ระบบทาง
เดินปัสสาวะได้ 3 ทาง
1.แพร่กระจายขึ้นโดยตรง (ascending infection)
E.coli บริเวณ perineum และใต้หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ
เข้าสู่ทางเดินปัสสาวะโดยตรงในผู้ป่วยที่มีรูเชื่อมต่อระหว่างทางเดินปัสสาวะกับลำไส้ส่วนปลาย
3.ทางน้ำเหลือง (lymphatic route)
ระบบ lymphatic ระหว่างท่อไต ความดันbladderสูง ทำให้น้ำเหลืองย้อนกลับเข้าไปในไต
2.ทางกระแสเลือด (hematogenousroute)
ผู้ที่มีภาวะติดเชื้อติดเชื้อในกระแสเลือดโดยเฉพาะเด็กแรกเกิด
ชนิดของการติดเชื้อ
การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง (lower urinary tract infection)
บริเวณท่อปัสสาวะ (urethritis) , กระเพาะปัสสาวะ (cystitis)
ผู้ป่วยจะมีปัสสาวะบ่อยแสบขัด ปัสสาวะกะปริดกะปรอย หรือมีปัสสาวะมีเลือดปน ปวดบริเวณท้องน้อย อาการอาจคล้ายกับการติดเชื้ออวัยวะสืบพันธุ์
การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะส่วนบน (upper urinary tract infection)
ท่อไต (urethritis) , กรวยไต (pyelitis) , เนื้อไตรอบกรวยไต (pyelonephritis)
มีอาการปวดหลังหรือบริเวณสีข้าง ข้างเดียวหรือสองข้างร่วมกับมีไข้ เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน ถ้าในผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงอาจมีความดันโลหิตต่ำ ซึม หมดสติได้
หมายถึงเกิดการอักเสบของระบบทางเดินปัสสาวะซึ่งมีสาเหตุมาจากการติดเชื้อ หมายรวมถึงการติดเชื้อตั้งแต่ท่อทางเดินปัสสาวะไปจนถึงท่อไต โดยสาเหตุส่วนมากเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย โดยอาจไม่มีอาการหรืออาจมีอาการเพียงเล็กน้อย จนไปถึงอาการรุนแรงซึ่งนำไปสู่การติดเชื้อในกระแสเลือดได้
การตรวจวินิจฉัยโรคติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ
การตรวจปัสสาวะ (Urinalysis) เป็นการตรวจ เบื้่องต้นโดยใช้แถบตรวจ (dipstick) ร่วมกับการตรวจโดยกล้องจุลทรรศน์ (Microscopic exam)
การตรวจนับเม็ดเลือดขาว ถือว่าผิดปกติหากพบเม็ดเลือดขาวมากกว่าเท่ากับ 5 เซลล์
การตรวจ Leukocyte esterase และ Nitrite โดยแถบ(dipstick) ถือว่าผิดปกติหากเป็นผลบวก
การย้อมแกรมปัสสาวะ (ใช้ปัสสาวะที่เพิ่งเก็บใหม่ย้อม Gram stain โดยไม่ปั่น) ถือว่าผิดปกติหากพบเชื้อแบคทีเรียมากกว่าเท่ากับ 1 ตัว
การรักษา
การรักษาทั่วไป
ให้ยาลดไข้ แก้ปวด ทุเลาอาการคลื่นไส้อาเจียน
การให้สารน้ำ oral / IV ให้เชื้อโรคเจือจางและปัสสาวะมากขึ้น เพื่อกำจัดแบคทีเรียออก
การเช็ดตัวลดไข้ รับประทานอาหารอย่างเพียงพอ
2.การรักษาจำเพาะ
ยาปฏิชีวนะ
UTI ส่วนบน ไข้สูง ควรให้ยา ATB 7-14 วัน
UTI ส่วนล่าง และไมม่ีไข้ เช่น Cystitis ควรให้ยา ATB 3-7 วัน
ให้ IV ในผู้ป่วยที่มีอาการหนัก ไม่สามารถรับประทานอาหารได้
ถ้าอาการไม่รุนแรงให้เป็นยากิน ควรให้กินยาจนครบ 7-14 วัน
อาการ
อาการ