Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีที่เป็นโรค SLE ในระยะตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
การพยาบาลสตรีที่เป็นโรค SLE ในระยะตั้งครรภ์
ภาวะแทรกซ้อนของทารกจากมารดาที่เป็นโรคSLE
1.Fetal loss
เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดทารกเสียชีวิตในครรภ์ โดยเฉพาะในรายที่มี active SLE ,Lupus nephritis ,antiphospholipid syndrome
มีโอกาสทารกเสียชีวิตในครรภ์จากผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันทำลายของเนื้อเยื่อสำหรับการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ มีโอกาสเกิดภาวะรกเสื่อมก่อนกำหนด
2.Fetal growth restriction
ภาวะทารกโตช้าในครรภ์,ทารกน้ำหนักตัวน้อย โดยเฉพาะในรายที่มี active SLE ,Lupus nephritis และ hypertension**
เสี่ยงต่อทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ เนื่องจากการลำเลียงออกซิเจนไปเลี้ยงรกไม่เพียงพอส่งผลให้เกิดภาวะรกเสื่อม
3.Neonatal lupus
อาการทางผิวหนัง เป็นผื่นแดงรูปวงกลม/รี บริเวณใบหน้า หนังศรีษะ ลำตัว พบช่วง 6 สัปดาห์หลังคลอด และจะหายได้เองเหลือแผลเป็นเล็กน้อย
ภาวะThrombocytopenia
ภาวะนี้จะกลับสู้ภาวะปกติได้เอง
4.Congenital heart block
อาการทางหัวใจพบลักษณะหัวใจที่มีจังหวะเต้นผิดปกติจากความผิดปกติของการนำกระแสไฟฟฟ้าของหัวใจ เช่น first-degree congenital heart block ,second-degree congenital heart block ,third-degree congenital heart block,
เสี่ยงต่อเกิดภาวะ congenital heart block เนื่องจากมารดา anti-Ro positive
ผลของ SLE ต่อการตั้งครรภ์
1.การคลอดก่อนกำหนด
เฝ้าระวังภาวะคลอดก่อนกำหนด เนื่องจากหญิงตั้งครรภ์เสี่ยงต่อหลอดเลือดอักเสบซึ่งมีผลต่อการลำเลียงออกซิเจนไปเลี้ยงรกไม่เพียงพอทำให้รกเสื่อม
2.การผ่าคลอด
3.PIH ,pre eclampsia,eclampsia,HELLP syndrome
เสี่ยงต่อภาวะความดันโลหิตสูงจากโรค SLE ที่เกิดพยาธิสภาพที่ไต (Lupus nephritis)
5.การติดเชื้อ
หญิงตั้งครรภ์เสี่ยงต่อภาวะติดเชื้อเนื่องจากภูมิต้านทานต่ำ
ส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์ในการดูแลตนเอง