Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวทางการดูแลผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะแพ้รุนแรง, images (1) แพ้อาหาร, lovepik…
แนวทางการดูแลผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะแพ้รุนแรง
สาเหตุ
Immunologic mechanismsชนิดIgE-dependent
1.อาหารที่แพ้บ่อยคืออาหารทะเล (เช่น กุ้ง ปู ปลาหมึก หอย ปลา) นม ไข่ และแป้งสาลี
ยาปฏิชีวนะ เช่น ยาในกลุ่มbeta-lactams(penicillin, cephalosporin), sulfonamides, quinolonesและmacrolides
3.แมลงตระกูลHymenoptera
Immunologic mechanismชนิดIgE-independent
ยาในกลุ่มnon-steroidal anti-inflammatory drugs(NSAIDs), radiocontrast media, monoclonal antibodies, protamine, immunoglobulin, albumin, dextrans
Non-immunologic mechanismsโดยกระตุ้นmast cellsโดยตรง
ปัจจัยทางกายภาพ เช่น การออกกำลังกาย ความร้อน ความเย็น แสงแดด
ethanol,ยาในกลุ่มopioids
Idiopathic anaphylaxis
ในกรณีที่ประวัติและการตรวจเพิ่มเติมไม่บ่งบอกสาเหตุซึ่งอาจพบได้ถึงร้อยละ 8-60
อาการและอาการแสดง
1.อาการทางระบบผิวหนัง อาการทางผิวหนังที่พบได้บ่อยที่สุด ได้แก่ ผื่นลมพิษและangioedemaซึ่งพบได้ร้อยละ 85-90
ผื่นแดง
ผื่นโดยไม่คัน
ผื่นลมพิษและangioedema
2.อาการทางระบบทางเดินหายใจ
หอบเหนื่อย หายใจเสียงหวีด
การบวมของระบบหายใจส่วนบน
เยื่อบุจมูกอักเสบ
3.อาการทางระบบหัวใจและหลอดเลือด
เวียนศรีษะ เป็นลม ความดันโลหิตลดลง
4.อาการทางระบบทางเดินอาหาร
คลื่นไส้ อาเจียน อุจาระร่วง ปวดท้อง
เกณฑ์การวินิจฉัยAnaphylaxis
ภาวะAnaphylaxisจะถูกวินิจฉัยเมื่อมีอาการ1ใน3ข้อดังต่อไปนี้
1.อาการที่เกิดขึ้นเฉียบพลัน (ภายในเวลาเป็นนาที หรือไม่กี่ชั่วโมง) ของระบบผิวหนังหรือเยื่อบุ (mucosal tissue)หรือทั้งสองอย่าง
ความดันโลหิตลดลง
อาการทางระบบทางเดินหายใจ เช่น หอบเหนื่อย หายใจเสียงหวีด แน่นหน้าอกstridor
2.มีอาการมากกว่าหรือเท่ากับ2ข้อ ดังต่อไปนี้
มีอาการทางระบบผิวหนังหรือเยื่อบุ
มีอาการของระบบทางเดินหายใจ
ความดันโลหิตลดลง
มีอาการของระบบทางเดินอาหาร
3.ความดันโลหิตลดลง หลังจากสัมผัสกับสารที่ผู้ป่วยทราบว่าแพ้มาก่อน
ความดันsystolicที่ต่ำกว่าความดันปกติตามอายุ หรือความดันsystolicที่ลดลง มากกว่าร้อยละ0ของความดันsystolicเดิม ความดันsystolic
น้อยกว่า60 mmHgในเด็กอายุ0-28วัน
น้อยกว่า70 mmHgในเด็กอายุ1เดือน-1ปี
น้อยกว่า70 mmHg + (2 xอายุเป็นปี) ในเด็กอายุ1 – 10ปี
น้อยกว่า90 mmHgในเด็กอายุ11-15ปี
การรักษาผู้ป่วยที่มีภาวะAnaphylaxis
Frist line treatment(พิจารณาให้ทันที)
Epinephrine (1:1000) 0.01ml/kg IM mid anterolateral thigh q5-15minให้ซ้ำได้ 2-3 ครั้ง
(ขนาดสูงสุดในเด็กMax dose0.3mgและในผู้ใหญ่ไม่เกิน0.5mg (ในผู้ใหญ่)
4.Second line medications
(พิจารณาให้ยาอื่นตามความเหมาะสม)
β2-adrenergic agonist (ลดอาการ bronchospasm) : salbutamol ชนิดพ่น ขนาด 2.5 – 5 mg ต่อครั้ง
Glucocorticoid (พิจารณาให้ในรายที่อาการรุนแรง:hydrocortisone 4-8 mg/kg IV
Ranitidine1mg/kg IV q8hr
Antihistamine(ลดผื่นที่เกิดจากanaphylaxis):CPM0.25mg/kg IV/IM q 6 hr
2.ประเมินairway, breathing, circulation, skin
Oxygen supplementกรณีผู้ป่วยมีrespiratory distressหรือshock
จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนหงาย
5..ให้สารน้ำ, inhaled bronchodilator, glucagon/atropine
1.ประเมินอาการเข้าได้ตามเกณฑ์การวินิจฉัยAnaphylaxis
กระบวนการในการดูแลผู้ป่วยเมื่อผู้ป่วยมีอาการแพ้ยา
หยุดยาที่สงสัยทันที (หากเป็น IVdrip ให้เปลี่ยนset ใหม่)
ประเมินอาการผู้ป่วยairway, breathing, circulation, skin
3.รายงานแพทย์เจ้าของไข้ หรือแพทย์เวร
ถ่ายรูปผื่นที่เกิดขึ้น เพื่อให้แพทย์วินิจฉัย เนื่องจากผื่นบางชนิด เช่น ลมพิษ มักหายไปเองได้อย่างรวดเร็ว
5.ให้การรักษาตามแผนการรักษาของแพทย์
8.คีย์OCR
6.แจ้งเภสัชมาประเมินการอาการผู้ป่วยเพื่อประเมินการแพ้ยา
7.เภสัชออกบัตรแพ้ยาให้แก่ผู้ป่วย ลง alert ในระบบ AA