Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกคลอดก่อนกำหนดที่มีปัญหาซับซ้อน - Coggle Diagram
การพยาบาลทารกคลอดก่อนกำหนดที่มีปัญหาซับซ้อน
ภาวะหายใจลำบาก Respiratory Distress Syndrome : RDS
ปัญหาการพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับออกซิเจน ความดันบวกและการรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจเป็นเวลานาน
ป้องกันการเกิดพยาธิสภาพที่สมอง
ป้องกันการเกิดลมในช่องเยื่อหุ้มปอด
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการที่ทารกได้รับออกซิเจน
ป้องกันการติดเชื้อเพิ่ม
การรักษา
1.surfactant replacement therapy สามารถเปิดถุงลมปอดที่แฟบได้ ทำให้ความยืดหยุ่นของปอดดีขึ้น ให้ในทารกที่มีอายุครรภ์น้อยกว่า 30 สัปดาห์ หรือ มีน้ำหนักน้อยกว่า 1,250 กรัม ตั้งแต่รุนแรงปานกลางขึ้นไป (ระดับ 3-4)
การรักษาแบบประคับประคอง (supportive treatment)
oxygen therapy
4.การเพิ่มปริมาณเลือดไปปอดด้วยการให้ยาคลายกล้ามเนื้อ
การใช้ ECMO (extracorporeal membrane oxygenation)
ภาวะแทรกซ้อน
ถุงลมรั่วและมีลมในเยื่อหุ้มปอด (air leak and pneumothorax)
Retinopathy of prematurity (ROP)
โรคปอดเรื้อรัง (bronchopulmonary dysplasia)
มีเลือดออกในระบบทางเดินหายใจ (Pulmonary hemorrhage)
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การดำเนินของโรคจะรุนแรงในระยะ 24 ชั่วโมงแรก
การตรวจทางชีวเคมี
ไม่มีหลักฐานของการติดเชื้อในระยะแรกของโรค
การแบ่งความรุนแรงของ RDS ตามภาพถ่ายรังสีปอด
ระดับ 1 fine reticulogranular บางตำแหน่ง ปอดขยายตัวดี
ระดับ 2 fine reticulogranular ร่วมกับมี air bronchogram
ระดับ 4 ปอดทั้ง 2 ข้างเป็นสีขาวเรียกว่า "white out lung"
ระดับ 3 reticulogranular กระจายทั่วไป แต่ยังเห็นขอบของหัวใจร่วมกับมี air bronchogram
สาเหตุอาการและอาการแสดง
เสียงหายใจผิดปกติ fine crepitation เสียงหายใจจะเบาลงเนื่องจากถุงลมแฟบ (atelectasis)
ความดันโลหิตต่ำทั่วร่างกาย
เขียว
หายใจลำบาก RR>60bpn, Retraction (intercostals and subcostal retraction) มีเสียงครางขณะหายใจออก (expiratory grunting)
สาเหตุ
เกิดจากการขาดสาร Sufactant ซึ่งปกติสาร Sufactant จะสร้างเพียงพอเมื่ออายุครรภ์ 35 สัปดาห์ มีประโยชน์ช่วยลดแรงตึงผิวทำให้ถุงลมคงรูปอยู่ได้ในขณะหายใจออก และช่วยป้องกันเยื่อบุปอดไม่ให้ถูกทำลาย ช่วยชำระ (clearance) สารน้ำในปอด จึงไม่เกิดภาวะปอดบวมน้ำ ป้องกันการบาดเจ็บของปอด (lung injury) จากแรงดัน(barotraumas) และความเสียหายจากออกซิเจนได้ง่าย
ภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด (Sepsis)
สาเหตุ
การสูดสำลักน้ำคร่ำที่มีการติดเชื้อ
การติดเชื้อระหว่างการคลอด
ผ่านทางรก
. การติดเชื้อหลังคลอด
พยาธิสรีรภาพเมื่อทารกเกิดการติดเชื้อ
อาจเกิดอาการเฉพาะที่ในระยะแรกและลุกลามไปทั่วร่างกาย ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั่วร่างกาย การทำงานของอวัยวะต่างๆล้มเหลว โดยเฉพาะการไหลเวียนโลหิตและกระบวนการเมตาบอลิซึม ซึ่งเป็นอันตรายถึงชีวิตได้
อาการและอาการแสดง
อาการ อาจง่วงซึม ดูดนมไม่ดี ตัวเย็น มักไม่พบอาการไข้ แต่พบว่าตัวเย็น โดยเฉพาะในทารกคลอดก่อนกำหนด อาจมีอาการหายใจเร็ว เขียว หยุดหายใจ หัวใจเต้นเร็วหรือช้า หรืออาจมีอาการแสดงเฉพาะที่ เช่น ซัก กระหม่อมโป่งตึง อาเจียน ท้องอืด ตาเหลือง ซีด หรือเลือดออกง่าย อาการเหล่านี้อาจเกิดภายหลังคลอด 48-72 ชั่วโมง ดังนี้1. ระยะเริ่มต้น (early onset sepsis) พบในทารกหลังเกิด 4 วันแรก อาการรุนแรงและมีอัตราตายสูง มักมีภาวะปอดอักเสบร่วมด้วย เชื้อที่พบส่วนใหญ่เป็นเชื้อในช่องคลอดมารดา 2. ระยะหลัง (late onset sepsis) เป็นการติดเชื้อในทารกอายุ 5 วันขึ้นไปหรือ 1 สัปดาห์ไปแล้ว มักมีเยื่อหุ้มสมองร่วมด้วย เชื้อที่เป็นสาเหตุส่วนใหญ่เป็นเชื้อในโรงพยาบาล หรือจากสิ่งแวดล้อม
การวินิจฉัย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการโดยตรวจหาเชื้อโรคในกระแสเลือด
การย้อมสีกรัม
จากการซักประวัติ
การรักษา
2.รักษาแบบประดับประคองและตามอาการ
รักษาภาวะแทรกซ้อน
รักษาแบบเฉพาะ คือให้ยาปฏิชีวนะทันที หลังจากการตรวจทางห้องปฏิบัติการและเจาะเลือด ส่งเพาะเชื้อ
ปัญหาการพยาบาล
มีการติดเชื้อในร่างกายเนื่องจากระบบภูมิคุมกันยังไม่สมบูณ์จากการเกิดก่อนกำหนด
ล้างมือก่อนและหลังให้การพยาบาลทุกครั้ง ดูแลให้ทารกได้รับยาปฏิชีวนะถูกต้องและครบถ้วนตามแผนการรักษา
ให้การพยาบาลโดยยึดหลักหลักสะอาดปราศจากเชื้อ
ประเมินอาการติดเชื้อในร่างกาย และประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
ดูแลทำความสะอาดร่างกายทารก และดูแลเปลี่ยนผ้าและที่นอนทารกรวมทั้งสิ่งแวดล้อมรอบๆตัวทารกให้สะอาดอยู่เสมอเช็ดตาด้วย NSS และเช็ดสะดือด้วย 70% AIcohol เช้า-เย็น